ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทรศัพท์เคลื่อนที่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18:
 
== ผู้ผลิต ==
{{bar box
|width=300px
|title= ส่วนแบ่งตลาดปริมาณจากข้อมูลของ[[Gartner|การ์ตเนอร์]]<br>(ยอดขายใหม่)
|titlebar=#dddddddddddddd
|left1='''ยี่ห้อ'''
|right1='''ร้อยละ'''
|float=right
|bars=
{{bar percent|ซัมซุง 2555|Green|22.0}}
{{bar percent|ซัมซุง 2556|Green|24.6}}
{{bar percent|โนเกีย 2555|Black|19.1}}
{{bar percent|โนเกีย 2556|Black|13.9}}
{{bar percent|แอปเปิล 2555|Red|7.5}}
{{bar percent|แอปเปิล 2556|Red|8.3}}
{{bar percent|แอลจีอิเล็กทรอนิกส์ 2555|Orange|3.3}}
{{bar percent|แอลจีอิเล็กทรอนิกส์ 2556|Orange|3.8}}
{{bar percent|แซดทีอี 2555|Yellow|3.9}}
{{bar percent|แซดทีอี 2556|Yellow|3.3}}
{{bar percent|อื่น ๆ 2555|Blue|34.9}}
{{bar percent|อื่น ๆ 2556|Blue|34.0}}
|caption=<small>หมายเหตุ: "อื่น ๆ 2555" ประกอบด้วย[[โซนีอีริกสัน]] [[โมโตโรลา]] แซดทีอี เอชทีซีและหัวเว่ย (2552–2553)</small>
}}
ก่อนปี 2553 [[โนเกีย]]เป็นผู้นำตลาด ทว่า นับแต่นั้นเกิดการแข่งขันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยยี่ห้ออย่างไมโครแมกซ์ เน็กเซียนและไอโมบายล์ซึ่งแย่งส่วนแบ่งตลาดของโนเกีย สมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ก็ได้กระแสมากขึ้นทั่วภูมิภาค ส่วนโนเกียมีแนวโน้มลดลง ในประเทศอินเดีย ส่วนแบ่งตลาดของโนเกียลดลงอย่างสำคัญจาก 56% เหลือประมาณ 31% ในช่วงเดียวกัน สัดส่วนนั้นถูกแทนด้วยผู้ขายโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพต่ำสัญชาติจีนและอินเดีย