ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
'''สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี''' หรือ '''สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช'''{{refn|group=เชิงอรรถ|พระนามอื่นมีดังนี้
* เมื่อพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ ทรงใช้พระนามว่า "'''พระศรีสรรเพชร สมเด็จบรมธรรมิกราชาธิราช รามาธิบดี บรมจักรพรรดิศร บวรราชาบดินทร์ หริหรินทร์ธาดาธิบดี ศรีสุวิบูลย์ คุณรุจิตร ฤทธิราเมศวร บรมธรรมิกราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพ ตรีภูวนาธิเบศร์ โลกเชษฏวิสุทธิ์ มกุฏประเทศคตา มหาพุทธังกูร บรมนาถบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว ณ กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุธยา มหาดิลกนพรัฐ ราชธานีบุรีรมย์อุดมพระราชนิเวศมหาสถาน'''"<ref>[http://3king.lib.kmutt.ac.th/KingTarksinCD/chapter8/page13.html บทที่ 8 สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ปราบดาภิเษก ณ กรุงธนบุรี], หน้า 13.</ref>
* พระราชพงศาวดาร กรุงศรีสัตนาคนหุต เรียกว่า '''พระบาทสมเด็จพระเอกาทศรุทรอิศร''' '''สมเด็จพระเอกาทศรุทอิศวร''' และ '''สมเด็จพระเอกาทศรถ'''<ref name="History_K_Taksin40-41">[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช], หน้า 40-41.</ref>
* พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เรียกว่า '''พระบรมหน่อพุทธางกูรเจ้า'''<ref name="History_K_Taksin40-41"/>
* จดหมายเหตุกรุงธนบุรีในสมุดไทยดำ ชื่อพระราชสาสน์และศุภักษรโต้ตอบกรุงธนบุรีและกรุงศรีสัตนาคนหุตจุลศักราช 1140 ใช้ '''พระบาทสมเด็จพระเอกาทศรถอิศวรบรมนาถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว''' '''พระบาทสมเด็จพระเอกาทศรุทอิศวรบรมนาถบรมบพิตร''' และ '''สมเด็จพระมหาเอกาทุศรุทอิศวรบรมนารถบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว'''<ref name="History_K_Taksin40-41"/>
บรรทัด 136:
 
=== ด้านการปกครอง ===
หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาแตก [[กฎหมาย]]บ้านเมืองกระจัดกระจายสูญหายไปมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำการสืบเสาะ ค้นหามารวบรวมไว้ได้ประมาณ 1 ใน 10 และโปรดฯ ให้ชำระกฎหมายเหล่านั้น ฉบับใดยังเหมาะแก่กาลสมัยก็โปรดฯ ให้คงไว้ ฉบับใดไม่เหมาะก็โปรดให้แก้ไขเพิ่มเติมก็มี ยกเลิกไปก็มี ตราขึ้นใหม่ก็มี และเป็นการแก้ไขเพื่อราษฎรได้รับผลประโยชน์มากขึ้น เช่น โปรดฯ ให้แก้ไขกฎหมายว่าด้วยการพนันให้อำนาจการตัดสินลงโทษขึ้นแก่ศาลแทนนายตราสิทธิ์ขาด และยังห้ามนายตรานายบ่อนออกเงินทดลองให้ผู้เล่น เกาะกุมผูกมัดจำจองเร่งรัดผู้เล่น กฎหมายพิกัดภาษีอากรก็เกือบไม่มี เพราะผลประโยชน์แผ่นดินได้จากการค้าสำเภามากพอแล้ว กฎหมายว่าด้วยการจุกช่องล้อมวงก็ยังไม่ตราขึ้น เปิดโอกาสให้ราษฎรได้เฝ้าแหนตามรายทาง โดยไม่มีพนักงาน[[ตำรวจ]]แม่นปืนคอยยิงราษฎร ซึ่งแม้แต่ชาวต่างประเทศก็ยังชื่นชมในพระราชอัธยาศัยนี้ เช่น มองเซนเยอร์ เลอบอง ได้บรรยายไว้ในจดหมายถึงผู้อำนวยการคณะต่างประเทศว่า<ref name="History_K_Taksin">[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]} หน้า 68.</ref>
 
{{คำพูด|''บรรดาคนทั้งหลายเรียกพระเจ้าตากว่าพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระเจ้าตากเองว่าเป็นแต่เพียงผู้รักษากรุงเท่านั้น พระเจ้าตากหาได้ทรงประพฤติเหมือนอย่างพระเจ้าแผ่นดินก่อน ๆ ไม่ และในธรรมเนียมของพระเจ้าแผ่นดินฝ่ายทิศตะวันออกที่ไม่เสด็จออกให้ราษฎรเห็นพระองค์ด้วยกลัวจะเสื่อมเสียพระเกียรติยศนั้น พระเจ้าตากไม่ทรงเห็นชอบด้วยเลย พระเจ้าตากทรงพระปรีชาสามารถยิ่งกว่าคนธรรมดา เพราะฉะนั้นจึงไม่ทรงเกรงว่าถ้าเสด็จออกให้ราษฎรพลเมืองเห็นพระองค์ และถ้าจะมีรับสั่งด้วยแล้วจะทำให้เสียพระราชอำนาจลงแต่อย่างใด เพราะพระองค์มีพระราชประสงค์ทอดพระเนตรการทั้งปวงด้วยพระเนตรของพระองค์เอง และจะทรงฟังการทั้งหลายด้วยพระกรรณของพระองค์เองทั้งสิ้น''}}
บรรทัด 161:
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกระตุ้นให้ชาวจีนเข้ามาตั้งรกร้างในธนบุรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก[[แต้จิ๋ว (เมือง)|เมืองแต้จิ๋ว]]<ref>{{cite book|title=Blood Brothers: The Criminal Underworld of Asia|author=Bertil Lintner|publisher=Macmillan Publishers|page=|isbn=1403961549}}, p. 234</ref> ซึ่งบางส่วนมีจุดประสงค์เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ซบเซา<ref>{{cite book|title=A History of Thailand|author=Chris Baker, Pasuk Phongpaichit|publisher=Cambridge University Press|isbn=0521816157}}, p. 32</ref> ทรงพยายามเจริญสัมพันธไมตรีกับจีน พ.ศ. 2313 ขณะที่จีนกำลังทำสงครามกับพม่าที่ยูนนาน ชาวพม่าหนีเข้ามาพึ่งสยามทางภาคเหนือของไทย ถึงแม้ว่าในเวลานั้นราชสำนักชิงยังไม่ได้รับรองรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แต่ก็ได้ติดต่อสยามให้จับกุมข้าศึกเหล่านั้นส่งไปให้จีนด้วย พอดีกับที่ทรงกรีฑาทัพไปตีเมืองเชียงใหม่ จึงได้จับเชลยชายหญิงส่งไปถวายจักรพรรดิเฉียนหลง 12 คน เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2314 จักรพรรดิเฉียนมีรับสั่งให้เปลี่ยนนโยบายต่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ต่อมาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงส่งคนจีน หยุนหนานที่หลบหนีไปต่างประเทศทางทะเลและเชลยศึกพม่าไปให้จีนเป็นระยะๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2315 เป็นต้นมา ราชสำนักชิงได้รับรองสถานภาพพระมหากษัตริย์อย่างเป็นทางการเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2315<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์"/>
 
รัฐบาลจีนโดยราชสำนักชิงแสดงมิตรไมตรีต่อรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีด้วยการอนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้ขายยุทธปัจจัยได้ ซึ่งกฎหมายของราชสำนักชิงห้ามไม่ให้ค้าขายสินค้าเหล่านี้ การซื้อขายดังกล่าวเกิดขึ้น 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ทรงส่งเฉินว่านเซิ่ง พ่อค้าชาวจีนไปซื้อกำมะถันจำนวน 50 หาบและกระทะเหล็กจำนวน 500 ใบ เมื่อ พ.ศ. 2318 และครั้งที่ 2 ทรงส่งโม่กว่างอี้ พ่อค้าชาวจีนอีกคนหนึ่งไปซื้อกำมะถันอีก 100 หาบ เมื่อ พ.ศ. 2320 จักรพรรดิเฉียนหลงมีพระราชกระแสรับสั่งต่อข้าหลวงใหญ่มณฑลกวางตุ้งและกวางสีว่า หากรัฐบาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจะซื้อดินประสิวหรือสินค้าจำเป็นอื่นๆ เพิ่มเติมก็ให้จัดหาให้ตามพระราชประสงค์<ref name="จิ้มก้องขอหองโอรสสวรรค์"/> ต่อมาปี พ.ศ. 2324 ทรงแต่งคณะทูตนำเครื่องราชบรรณาการไปถวายแด่จักรพรรดิเฉียนหลงเพื่อสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับจีนอย่างเป็นทางการ คณะทูตที่เดินทางไปเมืองปักกิ่งประกอบด้วย พระยาสุนทรอภัย ราชทูต หลวงพิไชยเสน่หา อุปทูต หลวงพจนาพิมล ตรีทูต ขุนพจนาพิจิตร ท่องสื่อ และหมื่นพิพิธวาจา ปันสื่อ พระนามพระเจ้าตากสินในพระราชสาส์นใช้ว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุธยา"''' และเรียกจักรพรรดิเฉียนหลงว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงต้าฉิ้ง"''' จักรพรรรดิเฉียนหลงทรงต้อนรับคณะทูตไทยเป็นอย่างดี พระราชทานเลี้ยงโต๊ะที่พระตำหนักซัมเกาสุ่นฉาง<ref>[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]} หน้า 70-71.</ref>
 
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเห็นมรพระราชดำริว่า การมีเส้นทางคมนาคมที่ดีเป็นประโยชน์ในทางค้าขายมากกว่า ดังนั้น ในฤดูหนาวหากว่างจากศึกสงคราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนและขุดคลอง จะเห็นได้จากแนวถนนเก่าๆเก่า ๆ ใน[[เขตธนบุรี]]ซึ่งมีอยู่หลายสาย ส่วนการขุดชำระคลองมักมีวัตถุประสงค์เบื้องต้นเพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ เช่น คลองท่าขาม จาก[[นครศรีธรรมราช]]ไปออกทะเล เป็นต้น<ref>[https://digital.lib.kmutt.ac.th/kingtaksin/History_K_Taksin.pdf name="wangdermpalace"สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]} หน้า 71.</ref>
ต่อมาปี พ.ศ. 2324 ทรงแต่งคณะทูตนำเครื่องราชบรรณาการไปถวายแด่จักรพรรดิเฉียนหลงเพื่อสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับจีนอย่างเป็นทางการ คณะทูตที่เดินทางไปเมืองปักกิ่งประกอบด้วย พระยาสุนทรอภัย ราชทูต หลวงพิไชยเสน่หา อุปทูต หลวงพจนาพิมล ตรีทูต ขุนพจนาพิจิตร ท่องสื่อ และหมื่นพิพิธวาจา ปันสื่อ พระนามพระเจ้าตากสินในพระราชสาส์นใช้ว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงพระมหานครศรีอยุธยา"''' และเรียกจักรพรรดิเฉียนหลงว่า '''"สมเด็จพระเจ้ากรุงต้าฉิ้ง"''' จักรพรรรดิเฉียนหลงทรงต้อนรับคณะทูตไทยเป็นอย่างดี พระราชทานเลี้ยงโต๊ะที่พระตำหนักซัมเกาสุ่นฉาง
 
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเห็นว่าการมีเส้นทางคมนาคมที่ดีเป็นประโยชน์ในทางค้าขายมากกว่า ดังนั้น ในฤดูหนาวหากว่างจากศึกสงคราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนและขุดคลอง จะเห็นได้จากแนวถนนเก่าๆ ใน[[เขตธนบุรี]]ซึ่งมีอยู่หลายสาย ส่วนการขุดชำระคลองมักมีวัตถุประสงค์เบื้องต้นเพื่อประโยชน์ทางยุทธศาสตร์ เช่น คลองท่าขาม จาก[[นครศรีธรรมราช]]ไปออกทะเล เป็นต้น<ref name="wangdermpalace"/>
 
=== ด้านสังคม ศาสนา และการศึกษา ===
เส้น 183 ⟶ 181:
 
=== ด้านศิลปกรรม ===
* นาฏดุริยางค์ ภายหลังจากที่พระองค์เสด็จพระราชดำเนินไปปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราชเมื่อ พ.ศ. 2312 ทรงนำตัวละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราชเข้ามาเป็นครูฝึกหัดร่วมกับพวกละครที่ทรงรวบรวมได้จากที่อื่น แล้วจัดตั้งเป็นละครหลวงของกรุงธนบุรี โดยยึดแบบฉบับการฝึกละครของกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ยังได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] เพื่อให้คณะละครหลวงได้นำไปฝึกหัดออกแสดงด้วย<ref name="วรรณคดีไทย"/> ดังนั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูอย่างเต็มที่เพื่อสร้างบรรยากาศให้รื่นเริงครึกครื้นเหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประชาชนทั่วไปเปิดการฝึกสอนและออกโรงเล่นได้อิสระ เครื่องแต่งกายไม่ว่าจะเป็นเครื่องต้น เครื่องทรงก็แต่งกันได้ตามลักษณะเรื่อง ส่งผลให้ศิลปะการละครของไทยซึ่งเคยเจริญรุ่งเรืองมากตอนปลายอยุธยากลับฟื้นตัวขึ้นใหม่
 
*โปรดเกล้าฯ ศิลปการช่าง ภาพเขียนที่งดงามประณีตในสมัยธนบุรีที่สำคัญยิ่ง คือให้สร้าง "สมุดภาพไตรภูมิ" เป็นภาพเขียนที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2319 ซึ่งนับได้ว่าเป็นสมุดภาพไตรภูมิขนาดใหญ่เล่มหนึ่งของไทย เมื่อคลี่ออกจะมีความยาวถึง 34.72 เมตร เขียนด้วยสีลงในสมุดทั้ง 2 ด้าน โดยฝีมือช่างเขียน 4 คน ปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้ ณ [[หอสมุดแห่งชาติ]] ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ<ref>[http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Namon_Phongsakornpaphas/Illustration.pdf สมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงศรีอยุธยา-ฉบับกรุงธนบุรีเลม 1-2]{{Dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref>
* งานฝีมือช่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเล็งเห็นว่า ช่างไทยสมัยธนบุรีมีเหลืออยู่น้อยมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมและฟื้นฟูการ[[ช่างสิบหมู่]]ขึ้นใหม่ แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด บ้านเมืองอยู่ในระหว่างสงคราม สิ่งของที่เป็นฝีมือช่างชั้นดีประณีตงดงามในสมัยกรุงธนบุรีจึงหาได้ยาก แต่ที่มีให้เห็นอยู่บ้าง ได้แก่ พระแท่นบรรทมของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประดิษฐานอยู่ที่วัดอินทาราม พระแท่นสำหรับทรงเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารเล็กหน้าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ตู้ลายรดน้ำที่มีศักราชแจ้งชัดว่าสร้างในสมัยกรุงธนบุรี อยู่ใน[[หอพระสมุดวชิรญาณ]] ภายใน[[หอสมุดแห่งชาติ]] [[ท่าวาสุกรี]] กรุงเทพฯ และท้องพระโรงพระราชวังเดิม ซึ่งเคยเป็นที่ประทับและเสด็จออกว่าราชการ ปัจจุบันอยู่ในการดูแลของกองทัพเรือ<ref>[http://www.changsipmu.com/thaiart_p05.html กรมช่างสิบหมู่] changsipmu.com (ลิงก์เสีย)</ref>
 
* งานฝีมือช่าง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเล็งเห็นมีพระราชดำริว่า ช่างไทยสมัยธนบุรีมีเหลืออยู่น้อยมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมและฟื้นฟูการ[[ช่างสิบหมู่]]ขึ้นใหม่ แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด บ้านเมืองอยู่ในระหว่างสงคราม สิ่งของที่เป็นฝีมือช่างชั้นดีประณีตงดงามในสมัยกรุงธนบุรีจึงหาได้ยาก แต่ที่มีให้เห็นอยู่บ้าง ได้แก่ พระแท่นบรรทมของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ประดิษฐานอยู่ที่วัดอินทาราม พระแท่นสำหรับทรงเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารเล็กหน้าพระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ตู้ลายรดน้ำที่มีศักราชแจ้งชัดว่าสร้างในสมัยกรุงธนบุรี อยู่ใน[[หอพระสมุดวชิรญาณ]] ภายใน[[หอสมุดแห่งชาติ]] [[ท่าวาสุกรี]] กรุงเทพฯ และท้องพระโรงพระราชวังเดิม ซึ่งเคยเป็นที่ประทับและเสด็จออกว่าราชการ ปัจจุบันอยู่ในการดูแลของกองทัพเรือ<ref>[http://www.changsipmu.com/thaiart_p05.html กรมช่างสิบหมู่] changsipmu.com (ลิงก์เสีย)</ref>
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 1 ค่ำ ปีฉลู จุลศักราช 1132 ตรงกับปี พ.ศ. 2313 เป็นปีที่ 3 ในรัชกาลของพระองค์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ 4 เล่มสมุดไทย คือ เล่ม 1 ตอน พระมงกุฎ เล่ม 2 ตอน หนุมานเกี้ยววารินจนท้าวมาลีวราชมา เล่ม 3 ตอน ท้าวมาลีวราชพิพากษา และเล่ม 4 ตอน ทศกรรฐ์ตั้งพิธีทรายกรด พระลักษณ์ต้องหอกกบิลพัสตร์ จนผูกผมทศกรรฐ์กับนางมณโฑ<ref name="วรรณคดีไทย">[[เปลื้อง ณ นคร]]. '''ประวัติวรรณคดีไทยสำหรับนักศึกษา'''. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2517. หน้า 216</ref>
== พระราชนิพนธ์ ==
สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 1 ค่ำ ปีฉลู จุลศักราช 1132 ตรงกับปี พ.ศ. 2313 เป็นปีที่ 3 ในรัชกาลของพระองค์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ 4 เล่มสมุดไทย คือ<ref name="วรรณคดีไทย">[[เปลื้อง ณ นคร]]. '''ประวัติวรรณคดีไทยสำหรับนักศึกษา'''. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2517. หน้า 216</ref>
* เล่ม 1 ตอน พระมงกุฎ
* เล่ม 2 ตอน หนุมานเกี้ยววารินจนท้าวมาลีวราชมา
* เล่ม 3 ตอน ท้าวมาลีวราชพิพากษา
* เล่ม 4 ตอน ทศกรรฐ์ตั้งพิธีทรายกรด พระลักษณ์ต้องหอกกบิลพัสตร์ จนผูกผมทศกรรฐ์กับนางมณโฑ
 
== เสด็จสวรรคต ==