ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยศิลปากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขข้อมูล
Good dharma (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขข้อมูล
บรรทัด 7:
| ชื่อ = มหาวิทยาลัยศิลปากร
| ชื่ออังกฤษ = Silpakorn University
| ชื่อย่อ = มศก. / SU<ref name="การกำหนดรหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวงและเลขที่หนังสือออก ของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (ปรับปรุง ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2562)">[https://www.mostmhesi.go.th/mesihome/images/2562/orgNumLastestorgNumUpdate20190508.pdf การกำหนดรหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวงและเลขที่หนังสือออก ของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (ปรับปรุง ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2562)]</ref>
| คำขวัญ = Ars longa vita brevis <br /> ศิลปะยืนยาว ชีวิตสั้น
| established = {{วันเกิดและอายุ|2486|10|12}}<ref name="พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร พุทธศักราช 2486">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2486/A/054/1496.PDF พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร พุทธศักราช 2486], ราชกิจจานุเบกษา 12 ตุลาคม 2486 หน้า 1496 เล่ม 60 ตอนที่ 54</ref>
บรรทัด 29:
}}
 
'''มหาวิทยาลัยศิลปากร''' ({{lang-en|Silpakorn University}}; [[อักษรย่อ]]: มศก. – SU<ref name="การกำหนดรหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวงและเลขที่หนังสือออก ของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (ปรับปรุง ณ วันที่ 8 พฤษภาคม 2562)" />) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกของประเทศไทย และเป็น [[รายชื่อมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยเรียงตามการสถาปนา|มหาวิทยาลัยแห่งที่ห้าของประเทศไทย]] มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์
 
มหาวิทยาลัยศิลปากร ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัด [[กรมศิลปากร]]" ในรัชสมัยของ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ศาสตราจารย์ [[พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)]] ร่วมกับ ศาสตราจารย์ [[ศิลป์ พีระศรี]] พัฒนาหลักสูตรจนได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยศิลปากร"<ref name="พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร พุทธศักราช 2486" /> เพื่อเป็นสถาบันอุดมศึกษาขั้นสูงทางศิลปะของชาติ โดยมีปณิธานที่จะสร้างสรรค์ศิลปะ วิทยาการ และภูมิปัญญาเพื่อสังคม มีผลให้งานศิลปะของชาติพัฒนาและก้าวหน้า มีกิจกรรมและวิชาการต่าง ๆ ที่ดำเนินการเอื้ออำนวยประโยชน์ให้แก่ประชาชนเสมอมา