ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''สัต''' หรือ '''ความเป็น''' ({{lang-en|being}}, {{lang-el|ὤν}}) ในทางปรัชญาหมายถึง สิ่งที่ดำรงอยู่จริง หรือเป็นอยู่จริง รวมไปถึงสภาวะความดำรงอยู่ของสิ่งนั้น. [[ภววิทยา]] (Ontology) เป็นสาขาในวิชาปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับ "สัต" โดยสัตเป็นมโนทัศน์ (concept) หรือแนวคิดที่ครอบคลุมถึงลักษณะทั้งในเชิงภาวะวิสัย และอัตวิสัยของความเป็นจริงและการดำรงอยู่. สิ่งใด ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมใน "สัต" ก็จะถูกเรียกว่าสัตเช่นกัน. ตลอดประวัติศาสตร์ทางความคิดในวิชาปรัชญาตะวันตก ความเข้าใจในเรื่อง "สัต" เป็นสิ่งที่ไม่ชัดเจน และเป็นที่ถกเถียงกันตลอดมา นับตั้งแต่จุดกำเนิดของวัฒนธรรมทางปรัชญาของตะวันตก (กล่าวคือนับตั้งแต่ความพยายามของ [[ปรัชญาในยุคก่อนโสเครตีส]] ที่จะทำความเข้าใจมัน). นักปรัชญาตะวันตกคนแรกที่พยายามจำแนกและนิยามแนวคิดเรื่องสัต คือ[[พาร์เมนิดีส]] (Parmenides) ผู้กล่าวว่า "whatever is is, and what is not cannot be." ("สิ่งใดที่''เป็นขึ้น''ย่อม ''เป็น'' ส่วนสิ่งใดที่มิเป็นขึ้นย่อม ''มิอาจเป็น'' ได้") โดยพาร์เมนิดีสเชื่อว่า ทุกสิ่งที่มีอยู่หรือเป็นอยู่แล้ว (ὅπως ἐστίν) ย่อมมีสภาวะเป็นอมตะนิรันดร์ ไร้กาลเวลาและไม่เปลี่ยนแปลง ด้วยเหตุนี้สิ่งใดที่''เป็นขึ้น'' ย่อมเป็นขึ้นมาอย่างสมบูรณ์มาตั้งแต่ต้น ส่วนความเปลี่ยนแปลงที่เราเห็นนั้นเป็นสิ่งลวง เพราะความ "กลายเป็น" (becoming) ก็เป็นเช่นเดียวกับ "ความไม่เป็น" นั่นเอง
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สัต"