ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไข รายชื่อผู้อำนวยการโรงเรียนให้สมบูรณ์
บรรทัด 122:
! ลำดับ !! width=23%|รายนาม !! width=15%|ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง !! ประวัติ
|-
| 1 || เจ.เอ. เอกิ้น ดี.ดี. (J.A.Eakin) || || นับได้ว่าท่านเป็นผู้เสียสละทั้งตำแหน่งหน้าที่ทางราชการ ทุนทรัพย์ส่วนตัว กำลังกาย และจิตใจเพื่อบริหารและพัฒนาโรงเรียนตั้งแต่สำเหร่จนก่อตั้งโรงเรียนสำเร็จ ตามเจตนารมย์ข (W.G. McClure) || || เป็นผู้ที่มีศีลธรรมสูง พูดน้อยแต่กินความลึก มุ่งมั่นและตั้งใจประกาศกิตติคุณของพระผู้เป็นเจ้าท่าน
|-
| 2 || ดับบริว ยี. แม๊คครัว (W.G. McClure) || || เป็นผู้ที่มีศีลธรรมสูง พูดน้อยแต่กินความลึก มุ่งมั่นและตั้งใจประกาศกิตติคุณของพระผู้เป็นเจ้า
| 3 || อาร์.โอ. แฟรงคลิ้น (R.O.FRANKLIN) || || ท่านสนใจกีฬาและดนตรีเป็นพิเศษ
|-
| 3 || อาร์.โอ. แฟรงคลิ้นแฟรงกลิ้น (R.O.FRANKLIN) || || ท่านสนใจกีฬาและดนตรีเป็นพิเศษ
|-
| 4 || เอ็ม.บี.ปาล์มเมอร์ (M.B. PALMER) || || ท่านเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนนานถึง 19 ปี และพัฒนาโรงเรียนอย่างมาก กิจกรรมของโรงเรียน เช่น วงดุริยางค์ กองลูกเสือ กรีฑา ฟุตบอล ด้านศาสนา และทางด้านวิชาการ ได้รับการเอาใจใส่ดูแล ทำให้ชื่อเสียงของโรงเรียนเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ท่านเป็นผู้ให้กำเนิดสีประจำโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย "สีม่วง" และ "สีทอง" กำหนดเครื่องแต่งกายนักเรียน เดิมเพลงประจำโรงเรียนคือ Soldier's Chorus ต่อมา อาจารย์กำชัย ทองหล่อ ได้แต่งเพลง กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ร่วมกับอาจารย์เจริญ วิชัย ที่ร้องกันอยู่ทุกวันนี้ ท่านเป็นผูคิดคติพจน์ของโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ว่า "Honesty is the best policy" อีกทั้งท่านมีโครงการพัฒนาบุคลากร โดยส่งครูไปศึกษาต่อต่างประเทศเพื่อบริหารงานของโรงเรียนต่อไป คือ อาจารย์เจริญ วิชัย และอาจารย์อารีย์ เสมประสาท คณะมิชชันนารีมีโครงการจะสร้างมหาวิทยาลัยคริสเตียนในอนาคต ท่านได้รับมอบหมายให้จัดซื้อที่ดินเพื่อการกล่าว ท่านได้ตกลงซื้อที่ดินตำบลบ้านกล้วย จากท่านเจ้าคุณภักดีนรเศรษฐ (นายเลิศ เศรษฐบุตร) เมื่อวันที่ [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2469]] เนื้อที่ 80 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา ในราคา 60,000 บาท (ตารางวาละ 2 บาท) เดิมเป็นป่ารก ต่อมาภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ทางการได้ตัดถนนสุขุมวิทผ่านที่ดินของโรงเรียน จึงทำให้ที่ดินเจริญขึ้น แต่ในระหว่างนั้น รัฐบาลไม่มีนโยบายให้เอกชนจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โครงการตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย จึงไม่อาจกระทำได้ คณะมิชชันนารีจึงตกลงขายที่ดินที่บ้านกล้วยแก่กระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันที่[[4 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2504]] ในราคา 22 ล้านบาทเพื่อนำมาพัฒนาโรงเรียนที่ถนนประมวญต่อไปทั้งนี้ไดทำการปรับปรุงเป็นอาคารเรียนทันสมัยและสวยงามเสร็จเรียบร้อยในปี [[พ.ศ. 2508]]