ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล มาคส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "มากซ์" → "มาคส์" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "จอร์จ" → "เกออร์ค" +แทนที่ "ลุดวิก" → "ลูทวิช" +แทนที่ "เจนา" → "เยนา" +แทนที่ "นิกายลูเธอร์" → "นิกายลูเทอแรน" +แทนที่ "ฮุมโบลด์ท" → "ฮุมบ็อลท์" +แทนที่ "เกออร์ก" → "เกออร์ค" +แทนที่ "วิลเฮล์ม" → "วิลเฮ็ล์ม" ด้วยสจห.
บรรทัด 11:
| school_tradition = [[ลัทธิมาคส์]], [[คอมมิวนิสต์]], [[เฮเกลเลียน]] |
| main_interests = การเมือง เศรษฐศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์ |
| influences = [[อริสโตเติล]]<ref>[http://arch.oucs.ox.ac.uk/detail/94555/index.html Babbage pages]</ref>, [[จอร์จเกออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]], [[บารุค สปิโนซา|สปิโนซา]], [[อดัม สมิธ]], [[วอลแตร์]], [[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์|รอแบ็สปีแยร์]], [[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]], [[วิลเลียม เชกสเปียร์|เชกสเปียร์]]<ref>Allen Oakley, [https://books.google.com/books?id=L949AAAAIAAJ&dq ''Marx's Critique of Political Economy: 1844 to 1860''], Routledge, 1984, p. 51.</ref>, [[โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ|เกอเธอ]], [[ชาลส์ ดาร์วิน]], [[โฌแซ็ฟ ฟูรีเย]]<ref>Mehring, Franz, ''Karl Marx: The Story of His Life'' (Routledge, 2003) pg. 75</ref>, [[ฟรีดริช เองเงิลส์]], [[ชาลส์ แบบบิจ]]<ref>John Bellamy Foster. "Marx's Theory of Metabolic Rift: Classical Foundations for Environmental Sociology", ''American Journal of Sociology'', Vol. 105, No. 2 (September 1999), pp. 366–405.</ref>|
| influenced = [[วลาดีมีร์ เลนิน]], [[โจเซฟ สตาลิน]], [[เลออน ทรอตสกี]], [[เหมา เจ๋อตง]], [[ฟีเดล กัสโตร]], [[เช เกบารา]], [[โรซา ลุคเซิมบวร์ค]], [[ฌ็อง-ปอล ซาทร์]], ''และอื่น ๆ'' |
| notable_ideas = [[มูลค่าส่วนเกิน]], ขยาย[[ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน]], [[การต่อสู้ระวห่างชนชั้น]], [[ทฤษฎีความแปลกแยก|ความแปลกแยก]]และ[[การขูดรีดแรงงาน]], [[วัสดุนิยมประวัติศาสตร์]]
| alma_mater = มหาวิทยาลัยเจเยนา ([[Doctor of Philosophy|Ph.D.]])
| signature = Karl Marx Signature.svg
}}
บรรทัด 21:
'''คาร์ล ไฮน์ริช มาคส์''' ({{lang-de|Karl Heinrich Marx}}, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนัก[[สังคมนิยมปฏิวัติ]]ชาวเยอรมัน
 
มาคส์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางใน[[เทรียร์]] เขาศึกษากฎหมายและ[[เกออร์กออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|ปรัชญาแบบเฮเกิล]] เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขา[[ความไร้สัญชาติ|ไร้สัญชาติ]]และอาศัยลี้ภัยในกรุง[[ลอนดอน]] ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ [[จุลสาร]]ปี 2391, ''[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]'' และ''[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]'' จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม
 
ทฤษฎีของมาคส์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า [[ลัทธิมาคส์]] ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่าน[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น]] ใน[[ทุนนิยม]] การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก [[ชนชั้นกระฎุมพี]]) ซึ่งควบคุม[[ปัจจัยการผลิต]]และชนชั้นแรงงาน (เรียก [[ชนกรรมาชีพ]]) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับ[[ค่าจ้าง]] มาคส์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก [[วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์]] ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ [[สังคมนิยม]]; สำหรับมาคส์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคม[[คอมมิวนิสต์]]ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต<ref>Karl Marx: [http://www.marxists.org/archive/marx/works/1875/gotha/index.htm ''Critique of the Gotha Program'']</ref> มาคส์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่ง[[การปลดปล่อยให้เป็นอิสระ]]ทางสังคมและเศรษฐกิจ
บรรทัด 29:
== ประวัติ ==
=== วัยเด็ก ===
คาร์ล มาคส์ เกิดในครอบครัวชาว[[ยิว]]หัวก้าวหน้าในเมือง[[เทรียร์]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[เยอรมนี]]) บิดาของเขา เฮอร์เชล ผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลที่เป็น[[ราไบ]] ทำอาชีพ[[ทนาย]] ชื่อสกุลเดิมของมาคส์คือ ''มาคส์ เลวี'' ซึ่งแปลงมาจากชื่อสกุลยิวเก่าว่า ''มาร์โดไค'' ในปี [[ค.ศ. 1817]] พ่อของมาคส์ได้เปลี่ยนศาสนาเป็น[[ศาสนาคริสต์นิกายลูเธอร์ลูเทอแรน]]ซึ่งเป็น[[ศาสนาประจำรัฐ]]ปรัสเซีย เพื่อรักษาอาชีพทนายเอาไว้ ครอบครัวมาคส์เป็นครอบครัวเสรีนิยม และได้รับรองแขกที่เป็นนักวิชาการและศิลปินหลายคนในสมัยที่มาคส์ยังเป็นเด็ก
 
=== การศึกษา ===
บรรทัด 35:
มาคส์ได้คะแนนดีใน ''ยิมเนเซียม'' ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมปลายในปรัสเซีย เขาได้รางวัลจากวิทยานิพนธ์ระดับมัธยมปลายที่มีชื่อว่า "ศาสนา: กาวที่เชื่อมต่อสังคมเข้าด้วยกัน" งานชิ้นแรกนี้เป็นจุดเริ่มต้นให้กับงานวิเคราะห์ศาสนาของเขาต่อไปในภายหลัง
 
มาคส์เข้าเรียนที่[[มหาวิทยาลัยบ็อน]]ในปี ค.ศ. 1833 ([[พ.ศ. 2376]]) เพื่อศึกษา[[กฎหมาย]] ตามคำเรียกร้องของบิดา ที่บ็อนเขาเข้าชมรมนักเดินทางแห่งเทรียร์ (และบางช่วงยังได้เป็นประธานชมรม) ผลการเรียนของเขาเริ่มตกต่ำ เนื่องจากเขาใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการร้องเพลงอยู่ในร้านเบียร์ ปีถัดไปพ่อของเขาจึงให้เขาย้ายไปยัง[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]]เพื่อเข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยฟรีดรีช-วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม (Friedrich-Wilhelms-Universität) ที่เอาจริงเอาจังด้านการวิชาการมากขึ้น ปัจจุบันมหาวิทยาลัยนี้คือ[[มหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน]] (Humboldt-Universität zu Berlin)
 
=== มาคส์และกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ ===
ที่เบอร์ลิน มาคส์เริ่มหันไปสนใจ[[ปรัชญา]]ท่ามกลางความไม่พอใจของบิดา เขาได้เข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ที่มีอายุไม่มากที่เป็นที่รู้จักในชื่อ "[[กลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่]]" ([[:en:Young Hegelians|Young Hegelians]]) ซึ่งนำโดย[[บรูโน บาวเออร์]] ([[:en:Bruno Bauer|Bruno Bauer]]) สมาชิกหลายคนในกลุ่มพยายามโยงปรัชญาแนวหลัง[[อริสโตเติล]]เข้ากับปรัชญาหลังเฮเกิล [[มักซ์ สเตอร์เนอร์]] สมาชิกกลุ่มเฮเกิลรุ่นใหม่อีกคนหนึ่ง นำการวิพากษ์แบบเฮเกิลมาใช้เพื่อสร้างคำอธิบายที่แทบจะเป็นแบบ[[สุญนิยม]] ว่าสุดท้ายแล้ว[[อีโกนิยม]]คือเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์ แนวคิดเช่นนี้ไม่เป็นที่ยอมรับของแทบทุกคนในกลุ่ม และมาคส์ได้โต้แนวคิดนี้บางส่วนใน ''Die Deutsche Ideologie'' ([[อุดมการณ์เยอรมัน]])
 
[[จอร์จเกออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|จอร์จเกออร์ค เฮเกิล]] เพิ่งเสียชีวิตไปไม่นานในปีค.ศ. 1831 ([[พ.ศ. 2374]]) และในช่วงชีวิตของเขานั้น ได้เป็นผู้ที่ทรงอิทธิพลทางวิชาการในสังคมเยอรมนีมาก กลุ่มที่เชื่อแนวคิดแบบเฮเกิล (รู้จักกันในชื่อว่า [[กลุ่มเฮเกิลขวา]]) เชื่อว่าลำดับการวิภาษทางประวัติศาสตร์นั้นเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว และสังคมปรัสเซีย ที่ถึงพร้อมด้วย[[การบริการพลเมือง]] มหาวิทยาลัยที่ดี [[การเปลี่ยนให้เป็นอุตสาหกรรม|การพัฒนาทางอุตสาหกรรม]] และอัตราการจ้างงานที่สูง เป็นผลสรุปของการพัฒนาการทางสังคมดังกล่าว กลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ที่มาคส์สังกัดอยู่ด้วยนั้นเชื่อว่ายังจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงแบบวิภาษอีก และสังคมปรัสเซียในขณะนั้น ยังมีความไม่สมบูรณ์อีกมาก ทั้งนี้เนื่องจากสังคมยังมีความยากจน รัฐบาลยังคงใช้ระบบเซ็นเซอร์ที่เข้มแข็ง และกลุ่มคนที่มิได้นับถือศาสนาคริสต์[[นิกายลูเธอร์ลูเทอแรน]]ยังคงโดยกีดกันทางสังคม
 
มาคส์ถูกเตือนมิให้ส่งวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยฟรีดรีช-วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม เนื่องจากคาดว่าจะไม่เป็นที่ยอมรับที่นั่นเนื่องจากชื่อเสียงของมาคส์ ว่าเป็นนักคิดแนวถอนรากถอนโคนในกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ มาคส์จึงส่งวิทยานิพนธ์ของเขา ที่เปรียบเทียบทฤษฎีทางด้านอะตอมของ[[ดิโมคริตัส]]กับ[[อีพิคารุส]]ไปยัง[[มหาวิทยาลัยเจเยนา]] ในปี ค.ศ. 1840 ([[พ.ศ. 2383]]) ซึ่งได้กลายเป็นมหาวิทยาลัยที่มาคส์จบการศึกษา และ ในปี ค.ศ. 1841 คาร์ล มาคส์ เรียนจบ[[ปริญญาเอก]]จาก[[มหาวิทยาลัยเจเยนา]]<ref>http://willamette.edu/cla/classics/careers/marx/index.html</ref>
 
=== อาชีพ ===
บรรทัด 72:
 
== แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อความคิดของมาคส์ ==
ความคิดของมาคส์นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากทั้งแนวคิด[[วิภาษวิธี]]ประวัติศาสตร์ของ[[จอร์จเกออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]] และเศรษฐศาสตร์การเมืองของ[[อดัม สมิธ]] และ[[เดวิด ริคาร์โด]] ([[:en:David Ricardo|David Ricardo]]) เขาเชื่อในความเป็นไปได้ที่จะศึกษา[[ประวัติศาสตร์]]และ[[สังคม]]ในลักษณะที่เป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะทำให้เข้าใจแนวโน้มของประวัติศาสตร์รวมถึงผลลัพธ์ของข้อขัดแย้งทางสังคมได้
[[ไฟล์:G.W.F. Hegel (by Sichling, after Sebbers).jpg|right|thumb|[[จอร์จเกออร์ค วิลเฮล์มวิลเฮ็ล์ม ฟรีดริช เฮเกิล]]]]
 
ปรัชญาของมาคส์ (ที่เฮเกล เรียกว่า [[วัตถุนิยมประวัติศาสตร์]]) นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงมาจากแนวคิดของเฮเกิลที่ว่าความจริง (รวมถึงประวัติศาสตร์) นั้นจะต้องพิจารณาแบบ[[วิภาษวิธี]] ([[:en:dialectic|dialectic]]) โดยมองว่าเป็นการปะทะกันของแรงคู่ตรงข้าม หลายครั้งแนวคิดนี้ถูกเขียนย่อว่าเป็น '''thesis + antithesis → synthesis''' (ข้อวินิจฉัย + ข้อโต้แย้ง → การประสม, การสังเคราะห์) เฮเกลเชื่อว่าทิศทางของประวัติศาสตร์นั้นสามารถพิจารณาได้เป็นช่วง ๆ ที่มีเป้าหมายไปสู่ความสมบูรณ์และจริงแท้ เขากล่าวว่าหลายครั้งพัฒนาการจะเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ก็อาจมีบางช่วงที่ต้องมีการต่อสู้และเปลี่ยนแปลงผู้ที่อยู่ในอำนาจเดิม มาคส์ยอมรับภาพรวมของประวัติศาสตร์ตามที่เฮเกลเสนอ อย่างไรก็ตามเฮเกลนั้นเป็นนักปรัชญาแนว[[จิตนิยม]] ส่วนมาคส์นั้นต้องการจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในรูปของวัตถุ เขาได้เขียนว่านักปรัชญาสายเฮเกลนั้นวางความเป็นจริงไว้บนหัว ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องจับมันให้วางเสียใหม่บนเท้าของตนเอง
 
ในการยอมรับวิภาษวิธีเชิงวัตถุ ซึ่งเป็นการปฏิเสธแนวคิดแบบจิตนิยมของเฮเกลนั้น มาคส์ได้รับอิทธิพลมาจาก [[ลุดวิกลูทวิช ฟอยเออร์บาคฟอยเออร์บัค]] ([[:en:Ludwig Feuerbach|Ludwig Feuerbach]]) ในหนังสือ "The Essence of Christianity" ฟอยเออร์บาคได้อธิบายว่า[[พระเจ้า]]นั้น คือผลงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ และคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ผู้คนยกย่องพระเจ้านั้น แท้จริงแล้วเป็นคุณลักษณะของ[[ความเป็นมนุษย์]]นั่นเอง มาคส์ยอมรับแนวคิดเช่นนี้ และได้อธิบายว่า โลกวัตถุนั้นเป็นโลกที่แท้จริง ส่วนแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับโลกนั้น ล้วนแล้วแต่เป็นผลสืบเนื่องมาจากโลกวัตถุ แม้ว่ามาคส์จะเชื่อเช่นเดียวกับเฮเกิลและนักปรัชญาคนอื่น ๆ ในการแบ่งแยกโลกที่ปรากฏกับโลกที่แท้จริง เขาไม่เชื่อว่าโลกวัตถุนั้นจะซ่อนโลกที่แท้จริงทางจิตเอาไว้ ในทางกลับกัน มาคส์ยังเชื่อว่า[[อุดมการณ์]]ที่ถูกสร้างผ่านทางประวัติศาสตร์และกระบวนการสังคมนั้น เป็นสิ่งที่ปิดบังไม่ให้ผู้คนเห็นสถาพทางวัตถุที่แท้จริงในชีวิตของพวกเขา
 
ผลงานอีกชิ้นหนึ่ง ที่มีส่วนสำคัญในการปรับปรุงแนวคิดของเฮเกลของมาคส์ คือ หนังสือที่เขียนโดย[[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ชื่อว่า "The Condition of the Working Class in England in 1844" (สภาพของชนชั้นกรรมาชีพในอังกฤษในปี 1844) หนังสือเล่มนี้ทำให้มาคส์มองวิภาษวิธีเชิงประวัติศาสตร์ออกมาในรูปของ[[ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น]] และมองเป็นว่า[[ชนชั้นกรรมาชีพ]]สมัยใหม่จะเป็นแรงผลักดันที่ก้าวหน้าที่สุดสำหรับการปฏิวัติ
บรรทัด 84:
แนวคิดหลักของมาคส์วางอยู่บนความเข้าใจเกี่ยวกับ '''[[แรงงาน]]''' โดยพื้นฐานแล้ว มาคส์กล่าวว่ามนุษย์มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงสิ่งรอบข้าง เขาเรียกกระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ว่าการ '''ใช้แรงงาน''' และความพลังในการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า '''กำลังแรงงาน''' สำหรับมาคส์แล้ว การใช้แรงงานนี้นอกจากจะเป็นความสามารถโดยธรรมชาติของกิจกรรมต่าง ๆ ทางกายภาพแล้ว แรงงานยังเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับความคิดและจินตนาการของมนุษย์ด้วย:
 
: แมงมุมทำกิจกรรมที่ไม่ต่างไปจากช่างทอผ้า และการสร้างรังของฝูงผึ้งก็สามารถทำให้สถาปนิกต้องอับอายได้ แต่ความแตกต่างระหว่างสถาปนิกที่แย่ที่สุดกับผึ้งที่เยี่ยมยอดที่สุดก็คือ สถาปนิกนั้นวาดภาพโครงสร้างของเขาในจินตนาการ ก่อนที่จะสร้างมันขึ้นมาในโลกความเป็นจริง.
 
นอกเหนือจากการที่อ้างว่าความสามารถของมนุษย์คือการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติแล้ว มาคส์มิได้ใช้ข้ออ้างอื่น ๆ เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์อีกเลย.