ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์ล มาคส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า คาร์ล มากซ์ ไปยัง คาร์ล มาคส์: ตามเกณฑ์ราชบัณฑิตยสภา
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "มากซ์" → "มาคส์" ด้วยสจห.
บรรทัด 6:
| image_name = Karl Marx 001.jpg
| image_size = 200px
| name = '''คาร์ล มากซ์มาคส์''' |
| birth = [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2361]]<br />[[เทรียร์]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] |
| death = {{วันตาย-อายุ|2426|3|14|2361|5|5}}<br />กรุง[[ลอนดอน]] [[สหราชอาณาจักร]]|
| school_tradition = [[ลัทธิมากซ์มาคส์]], [[คอมมิวนิสต์]], [[เฮเกลเลียน]] |
| main_interests = การเมือง เศรษฐศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์ |
| influences = [[อริสโตเติล]]<ref>[http://arch.oucs.ox.ac.uk/detail/94555/index.html Babbage pages]</ref>, [[จอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]], [[บารุค สปิโนซา|สปิโนซา]], [[อดัม สมิธ]], [[วอลแตร์]], [[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์|รอแบ็สปีแยร์]], [[ฌ็อง-ฌัก รูโซ]], [[วิลเลียม เชกสเปียร์|เชกสเปียร์]]<ref>Allen Oakley, [https://books.google.com/books?id=L949AAAAIAAJ&dq ''Marx's Critique of Political Economy: 1844 to 1860''], Routledge, 1984, p. 51.</ref>, [[โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ|เกอเธอ]], [[ชาลส์ ดาร์วิน]], [[โฌแซ็ฟ ฟูรีเย]]<ref>Mehring, Franz, ''Karl Marx: The Story of His Life'' (Routledge, 2003) pg. 75</ref>, [[ฟรีดริช เองเงิลส์]], [[ชาลส์ แบบบิจ]]<ref>John Bellamy Foster. "Marx's Theory of Metabolic Rift: Classical Foundations for Environmental Sociology", ''American Journal of Sociology'', Vol. 105, No. 2 (September 1999), pp. 366–405.</ref>|
| influenced = [[วลาดีมีร์ เลนิน]], [[โจเซฟ สตาลิน]], [[เลออน ทรอตสกี]], [[เหมา เจ๋อตง]], [[ฟีเดล กัสโตร]], [[เช เกบารา]], [[โรซา ลุกเซมบวร์กลุคเซิมบวร์ค]], [[ฌ็อง-ปอล ซาทร์]], ''และอื่น ๆ'' |
| notable_ideas = [[มูลค่าส่วนเกิน]], ขยาย[[ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน]], [[การต่อสู้ระวห่างชนชั้น]], [[ทฤษฎีความแปลกแยก|ความแปลกแยก]]และ[[การขูดรีดแรงงาน]], [[วัสดุนิยมประวัติศาสตร์]]
| alma_mater = มหาวิทยาลัยเจนา ([[Doctor of Philosophy|Ph.D.]])
บรรทัด 18:
}}
{{คอมมิวนิสต์}}
{{เศรษฐศาสตร์สำนักมากซ์มาคส์}}
'''คาร์ล ไฮน์ริช มากซ์มาคส์''' ({{lang-de|Karl Heinrich Marx}}, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนัก[[สังคมนิยมปฏิวัติ]]ชาวเยอรมัน
 
มากซ์มาคส์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางใน[[เทรียร์]] เขาศึกษากฎหมายและ[[เกออร์ก วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|ปรัชญาแบบเฮเกิล]] เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขา[[ความไร้สัญชาติ|ไร้สัญชาติ]]และอาศัยลี้ภัยในกรุง[[ลอนดอน]] ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ [[จุลสาร]]ปี 2391, ''[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]'' และ''[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]'' จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม
 
ทฤษฎีของมากซ์มาคส์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า [[ลัทธิมากซ์มาคส์]] ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่าน[[การต่อสู้ระหว่างชนชั้น]] ใน[[ทุนนิยม]] การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก [[ชนชั้นกระฎุมพี]]) ซึ่งควบคุม[[ปัจจัยการผลิต]]และชนชั้นแรงงาน (เรียก [[ชนกรรมาชีพ]]) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับ[[ค่าจ้าง]] มากซ์มาคส์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก [[วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์]] ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ [[สังคมนิยม]]; สำหรับมากซ์มาคส์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคม[[คอมมิวนิสต์]]ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต<ref>Karl Marx: [http://www.marxists.org/archive/marx/works/1875/gotha/index.htm ''Critique of the Gotha Program'']</ref> มากซ์มาคส์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่ง[[การปลดปล่อยให้เป็นอิสระ]]ทางสังคมและเศรษฐกิจ
 
มีผู้อธิบายว่ามากซ์มาคส์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับ[[ทุน]] และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง<ref>[[Roberto Mangabeira Unger]]. ''Free Trade Reimagined: The World Division of Labor and the Method of Economics''. Princeton: Princeton University Press, 2007.</ref><ref>John Hicks, "Capital Controversies: Ancient and Modern." ''The American Economic Review'' 64.2 (May 1974) p. 307: "The greatest economists, Smith or Marx or Keynes, have changed the course of history&nbsp;..."</ref><ref>[[Joseph Schumpeter]] Ten Great Economists: From Marx to Keynes. Volume 26 of Unwin University books. Edition 4, Taylor & Francis Group, 1952 {{ISBN|0415110785}}, 9780415110785</ref><ref name="Karl Marx to John Maynard Keynes"/> ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์มาคส์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์มาคส์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง<ref>{{Cite web |url=http://www-personal.umd.umich.edu/~delittle/Marxism%20and%20Method%203.htm |title=Marxism and Method |last=Little |first=Daniel}}</ref><ref>{{Cite web |url=https://plato.stanford.edu/archives/win2017/entries/weber/ |title=Max Weber |last=Kim |first=Sung Ho |date=2017 |editor-last=Zalta |editor-first=Edward N. |publisher=Metaphysics Research Lab, Stanford University |access-date=10 December 2017 |quote=Max Weber is known as a principal architect of modern social science along with Karl Marx and Emil Durkheim.}}</ref>
 
== ประวัติ ==
=== วัยเด็ก ===
คาร์ล มากซ์มาคส์ เกิดในครอบครัวชาว[[ยิว]]หัวก้าวหน้าในเมือง[[เทรียร์]] [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[เยอรมนี]]) บิดาของเขา เฮอร์เชล ผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลที่เป็น[[ราไบ]] ทำอาชีพ[[ทนาย]] ชื่อสกุลเดิมของมากซ์คือมาคส์คือ ''มากซ์มาคส์ เลวี'' ซึ่งแปลงมาจากชื่อสกุลยิวเก่าว่า ''มาร์โดไค'' ในปี [[ค.ศ. 1817]] พ่อของมากซ์มาคส์ได้เปลี่ยนศาสนาเป็น[[ศาสนาคริสต์นิกายลูเธอร์]]ซึ่งเป็น[[ศาสนาประจำรัฐ]]ปรัสเซีย เพื่อรักษาอาชีพทนายเอาไว้ ครอบครัวมากซ์มาคส์เป็นครอบครัวเสรีนิยม และได้รับรองแขกที่เป็นนักวิชาการและศิลปินหลายคนในสมัยที่มากซ์มาคส์ยังเป็นเด็ก
 
=== การศึกษา ===
[[ไฟล์:KarlMarx3.jpg|160px|thumb|left|มากซ์มาคส์เมื่อครั้งเป็นนักเรียน]]
มากซ์มาคส์ได้คะแนนดีใน ''ยิมเนเซียม'' ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมปลายในปรัสเซีย เขาได้รางวัลจากวิทยานิพนธ์ระดับมัธยมปลายที่มีชื่อว่า "ศาสนา: กาวที่เชื่อมต่อสังคมเข้าด้วยกัน" งานชิ้นแรกนี้เป็นจุดเริ่มต้นให้กับงานวิเคราะห์ศาสนาของเขาต่อไปในภายหลัง
 
มากซ์มาคส์เข้าเรียนที่[[มหาวิทยาลัยบ็อน]]ในปี ค.ศ. 1833 ([[พ.ศ. 2376]]) เพื่อศึกษา[[กฎหมาย]] ตามคำเรียกร้องของบิดา ที่บ็อนเขาเข้าชมรมนักเดินทางแห่งเทรียร์ (และบางช่วงยังได้เป็นประธานชมรม) ผลการเรียนของเขาเริ่มตกต่ำ เนื่องจากเขาใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการร้องเพลงอยู่ในร้านเบียร์ ปีถัดไปพ่อของเขาจึงให้เขาย้ายไปยัง[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]]เพื่อเข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยฟรีดรีช-วิลเฮล์ม (Friedrich-Wilhelms-Universität) ที่เอาจริงเอาจังด้านการวิชาการมากขึ้น ปัจจุบันมหาวิทยาลัยนี้คือ[[มหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน]] (Humboldt-Universität zu Berlin)
 
=== มากซ์มาคส์และกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ ===
ที่เบอร์ลิน มากซ์มาคส์เริ่มหันไปสนใจ[[ปรัชญา]]ท่ามกลางความไม่พอใจของบิดา เขาได้เข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มนักศึกษาและอาจารย์ที่มีอายุไม่มากที่เป็นที่รู้จักในชื่อ "[[กลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่]]" ([[:en:Young Hegelians|Young Hegelians]]) ซึ่งนำโดย[[บรูโน บาวเออร์]] ([[:en:Bruno Bauer|Bruno Bauer]]) สมาชิกหลายคนในกลุ่มพยายามโยงปรัชญาแนวหลัง[[อริสโตเติล]]เข้ากับปรัชญาหลังเฮเกิล [[มักซ์ สเตอร์เนอร์]] สมาชิกกลุ่มเฮเกิลรุ่นใหม่อีกคนหนึ่ง นำการวิพากษ์แบบเฮเกิลมาใช้เพื่อสร้างคำอธิบายที่แทบจะเป็นแบบ[[สุญนิยม]] ว่าสุดท้ายแล้ว[[อีโกนิยม]]คือเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์ แนวคิดเช่นนี้ไม่เป็นที่ยอมรับของแทบทุกคนในกลุ่ม และมากซ์มาคส์ได้โต้แนวคิดนี้บางส่วนใน ''Die Deutsche Ideologie'' ([[อุดมการณ์เยอรมัน]])
 
[[จอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|จอร์จ เฮเกิล]] เพิ่งเสียชีวิตไปไม่นานในปีค.ศ. 1831 ([[พ.ศ. 2374]]) และในช่วงชีวิตของเขานั้น ได้เป็นผู้ที่ทรงอิทธิพลทางวิชาการในสังคมเยอรมนีมาก กลุ่มที่เชื่อแนวคิดแบบเฮเกิล (รู้จักกันในชื่อว่า [[กลุ่มเฮเกิลขวา]]) เชื่อว่าลำดับการวิภาษทางประวัติศาสตร์นั้นเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว และสังคมปรัสเซีย ที่ถึงพร้อมด้วย[[การบริการพลเมือง]] มหาวิทยาลัยที่ดี [[การเปลี่ยนให้เป็นอุตสาหกรรม|การพัฒนาทางอุตสาหกรรม]] และอัตราการจ้างงานที่สูง เป็นผลสรุปของการพัฒนาการทางสังคมดังกล่าว กลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ที่มากซ์มาคส์สังกัดอยู่ด้วยนั้นเชื่อว่ายังจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงแบบวิภาษอีก และสังคมปรัสเซียในขณะนั้น ยังมีความไม่สมบูรณ์อีกมาก ทั้งนี้เนื่องจากสังคมยังมีความยากจน รัฐบาลยังคงใช้ระบบเซ็นเซอร์ที่เข้มแข็ง และกลุ่มคนที่มิได้นับถือศาสนาคริสต์นิกายลูเธอร์ยังคงโดยกีดกันทางสังคม
 
มากซ์มาคส์ถูกเตือนมิให้ส่งวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยฟรีดรีช-วิลเฮล์ม เนื่องจากคาดว่าจะไม่เป็นที่ยอมรับที่นั่นเนื่องจากชื่อเสียงของมากซ์มาคส์ ว่าเป็นนักคิดแนวถอนรากถอนโคนในกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ มากซ์มาคส์จึงส่งวิทยานิพนธ์ของเขา ที่เปรียบเทียบทฤษฎีทางด้านอะตอมของ[[ดิโมคริตัส]]กับ[[อีพิคารุส]]ไปยัง[[มหาวิทยาลัยเจนา]] ในปี ค.ศ. 1840 ([[พ.ศ. 2383]]) ซึ่งได้กลายเป็นมหาวิทยาลัยที่มากซ์มาคส์จบการศึกษา และ ในปี ค.ศ. 1841 คาร์ล มากซ์มาคส์ เรียนจบ[[ปริญญาเอก]]จากมหาวิทยาลัยเจนา<ref>http://willamette.edu/cla/classics/careers/marx/index.html</ref>
 
=== อาชีพ ===
เมื่อบาวเออร์อาจารย์ของเขาถูกขับออกจากภาควิชาปรัชญาในปี ค.ศ. 1842 ([[พ.ศ. 2385]]) มากซ์มาคส์จึงเลิกสนใจปรัชญาและหันเหความสนใจไปยังการเป็น[[นักข่าว]] เขาได้เข้าทำหน้าที่บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ ''Rheinische Zeitung'' หนังสือพิมพ์หัวก้าวหน้าของ[[โคโลญ|เมืองโคโลญ]] อย่างไรก็ตามหนังสือพิมพ์เล่มนั้นโดนสั่งปิดในปี ค.ศ. 1843 ([[พ.ศ. 2386]]) ซึ่งเป็นผลบางส่วนจากความขัดแย้งระหว่างมากซ์มาคส์กับมาตรการเซ็นเซอร์ของรัฐ มากซ์มาคส์กลับไปสนใจปรัชญา และหันไปเป็นนักกิจกรรมทางการเมือง พร้อมกับทำงานเป็น[[นักข่าวอิสระ]] ไม่นานมากซ์มาคส์ก็ต้องเดินทางลี้ภัย ซึ่งเป็นสิ่งที่มากซ์มาคส์ต้องกระทำอยู่เรื่อย ๆ เนื่องจากการแสดงความเห็นแบบถอนรากถอนโคนของเขา
 
มากซ์มาคส์เดินทางไปยัง[[ประเทศฝรั่งเศส]] ที่นั่นเอง เขาได้ขบคิดเรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับบาวเออร์และกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ และได้เขียนบทความ ''ปัญหาชาวยิว'' ([[:en:On the Jewish Question|On the Jewish Question]]) ซึ่งเป็นบท[[วิพากษ์]]แนวคิดปัจจุบันเกี่ยวกับ[[สิทธิพลเมือง]]และ[[การปลดปล่อย]]ทางการเมือง ที่[[ปารีส]]เขาได้พบ [[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ผู้ซึ่งกลายเป็นผู้ร่วมงานกับมากซ์มาคส์ไปตลอดชีวิตของเขา เองเงิลส์ได้กระตุ้นให้มากซ์มาคส์สนใจสถานการณ์ของ[[ชนชั้นทำงาน]] และช่วยแนะนำให้มากซ์สนใจมาคส์สนใจ[[เศรษฐศาสตร์]] เมื่อเขาและเองเงิลส์ถูกภัยการเมืองอีกครั้งอันเนื่องมาจากงานเขียน เขาย้ายไปยังเมือง[[ปรัสเซล]] <!-- บรัสเซล? --> [[ประเทศเบลเยียม]]
 
พวกเขาได้ร่วมกันเขียนบทความชื่อ ''[[อุดมการณ์เยอรมัน]]'' (''[[:en:The German Ideology|The German Ideology]]'') ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์ปรัชญาของเฮเกิลและกลุ่มนิยมเฮเกิลรุ่นใหม่ หลังจากนั้นมากซ์เขียนมาคส์เขียน ''[[ความอับจนของปรัชญา]]'' (''[[:en:The Poverty of Philosophy|The Poverty of Philosophy]]'') ซึ่งวิพากษ์ความคิดสังคมนิยมสายฝรั่งเศส บทความทั้งสองวางรากฐานให้กับ ''[[คำประกาศเจตนาคอมมิวนิสต์]]'' (''The Communist Manifesto'') อันเป็นผลงานที่โด่งดังที่สุดของมากซ์และเองเงิลส์มาคส์และเองเงิลส์. หนังสือ ''คำประกาศเจตนา'' ซึ่ง[[สมาพันธ์คอมมิวนิสต์]]ซึ่งเป็นกลุ่มผู้อพยพชาวเยอรมันที่มากซ์มาคส์ได้พบที่[[ลอนดอน]]ได้ร้องขอให้เขียน ได้รับการตีพิมพ์เมื่อวันที่ [[21 ก.พ.]] ค.ศ. 1848 ([[พ.ศ. 2391]])
 
ปีนั้นเอง ใน[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]]ได้เกิดการลุกฮือครั้งยิ่งใหญ่ กลุ่มคนงานได้เข้ายึดอำนาจจาก[[พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]] และได้เชิญมากซ์มาคส์กลับปารีส ต่อมาหลังจากที่รัฐบาลคนงานล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1849 ([[พ.ศ. 2392]]) มากซ์มาคส์ได้ย้ายกลับไปยังโคโลญ และได้เริ่มพิมพ์หนังสือพิมพ์ ''Rheinische Zeitung'' ขึ้นมาใหม่ก่อนจะถูกสั่งปิดลงอีกครั้ง สุดท้ายมากซ์มาคส์จึงย้ายไปอยู่ที่ลอนดอน ขณะที่อยู่ที่ลอนดอนนั้น มากซ์มาคส์ทำหน้าที่เป็นผู้สื่อข่าวฝั่งยุโรปให้กับหนังสือพิมพ์นิวยอร์กทรีบูน ([[:en:New York Tribune|New York Tribune]]) ระหว่างปี ค.ศ. 1852 ([[พ.ศ. 2395]]) ถึง 1861 ([[พ.ศ. 2404]]) ในปี ค.ศ. 1852 นั้นเอง มากซ์มาคส์ได้เขียนแผ่นพับ ''[[การปฏิวัติของหลุยส์ โบนาปาร์ต]]'' (''[[:en:The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte|The Eighteenth Brumaire of Louis Bonaparte]]'') เพื่อวิเคราะห์เหตุการณ์ที่[[หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต]] (หลานของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|นโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส]]) เข้ายึดอำนาจรัฐในฝรั่งเศสและสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดินโปเลียนที่ 3
 
=== สากลที่หนึ่ง และคำพูดของแกลดสตัน ===
ในปีค.ศ. 1863 ([[พ.ศ. 2406]]) รัฐมนตรีคลังของอังกฤษ [[วิลเลียม แกลดสตัน]]ได้กล่าวสุนทรพจน์แก่[[สภาสามัญชน]] โดยเขาได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของความร่ำรวยของ[[ประเทศอังกฤษ]]และได้เพิ่มเติม (ตามรายงานจากหนังสือพิมพ์ ''ไทมส์'') ว่า ''"ผมควรจะมองการเพิ่มขึ้นของความมั่งคั่งและอำนาจอย่างเมามายเหล่านี้ ด้วยความหวาดกลัวและความเจ็บปวด ถ้าผมเชื่อว่ามันเกิดขึ้นเฉพาะกับกลุ่มชนที่มีชีวิตสะดวกสบายเท่านั้น ที่ผมกล่าวมาทั้งหมดนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับสภาพของประชากรที่ใช้แรงงานเลย การเพิ่มขึ้นมาของความมั่งคั่งที่ผมได้อธิบายและที่ผมคิดว่าเกิดขึ้นจากกำไรจากการลงทุนนั้น เป็นการเพิ่มขึ้นที่เกิดเฉพาะกับชนชั้นที่ครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น"'' แต่ในรายงานฉบับกึ่งทางการ แกลดสตันได้ลบประโยคสุดท้ายออก ซึ่งการแก้ไขนี้เป็นสิ่งที่กระทำกันทั่วไปในหมู่สมาชิกสภา
 
ในปี ค.ศ. 1864 ([[พ.ศ. 2407]]) มากซ์มาคส์ได้ก่อตั้ง[[สมาคมกรรมกรสากล]] ซึ่งต่อมาถูกเรียกว่า[[องค์การสากลที่หนึ่ง]] เพื่อเป็นแกนหลักในการทำ[[กิจกรรมทางการเมือง]] ในคำสุนทรพจน์เปิดงานนั้น มากซ์มาคส์ได้อ้างถึงคำพูดของแกลดสตันไปในทำนองที่ว่า "การเพิ่มขึ้นของความร่ำรวยและอำนาจอย่างเมามายนี้ เกิดขึ้นกับเฉพาะชนชั้นที่มีทรัพย์สินเท่านั้น" เขายังอ้างถึงคำพูดนี้อีกในหนังสือ ''[[ว่าด้วยทุน]]'' ไม่นานนักความแตกต่างระหว่างสิ่งที่มากซ์มาคส์อ้างกับที่มีบันทึกไว้ในรายงาน (ซึ่งเป็นที่แพร่หลาย) ถูกนำมาใช้เพื่อทำลายความน่าเชื่อถือของแนวร่วมระหว่างประเทศ มากซ์มาคส์พยายามจะโต้ตอบข้อกล่าวหาเรื่องความไม่ซื่อสัตย์นี้ แต่ว่าข้อกล่าวอ้างนั้นก็กลับมาเรื่อย ๆ
 
ในภายหลังมากซ์มาคส์ได้ระบุแหล่งข้อมูลที่เขาใช้ว่าคือหนังสือพิมพ์ ''เดอะ มอร์นิง สตาร์''
 
เองเงิลส์ได้ใช้เนื้อที่ในส่วนคำนำในการพิมพ์ครั้งที่สี่ของหนังสือ ''ว่าด้วยทุน'' เพื่อพูดถึงเรื่องนี้ แต่ก็ไม่สามารถจบข้อโต้เถียงนี้ลงได้ เองเงิลส์อ้างว่าแหล่งข่าวนั้นไม่ใช่ ''เดอะ มอร์นิง สตาร์'' แต่เป็น ''ไทมส์'' นักวิจารณ์แนวคิดมากซ์มาคส์เช่นนักข่าว [[พอล จอห์นสัน]] ยังคงใช้เรื่องนี้ในการกล่าวหามากซ์มาคส์ในเรื่องความซื่อสัตย์อยู่
 
=== ช่วงปลายชีวิตของมากซ์มาคส์ ===
[[ไฟล์:Zentralbibliothek Zürich Das Kapital Marx 1867.jpg|200px|thumb|ปกในของหนังสือ [[ว่าด้วยทุน]] (Das Kapital)]]
ที่ลอนดอน ในช่วงเวลาเดียวกันกับที่มีการโต้เถียงเรื่องการอ้างคำพูดของแกลดสตันนี้ มากซ์มาคส์ได้ทุ่มเทเวลาไปกับการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์และเชิงทฤษฎีสำหรับการเขียนหนังสือ ''[[ว่าด้วยทุน]]'' (หรือในชื่อเต็มว่า ''ทุน: บทวิพากษ์ทางเศรษฐศาสตร์การเมือง'' และชื่อภาษาเยอรมันว่า ''[[:en:Das Kapital|Das Kapital]]''). มากซ์มาคส์ตีพิมพ์เล่มแรกของชุดในปี ค.ศ. 1867 ([[พ.ศ. 2410]]), สำหรับอีกสองเล่มที่เหลือนั้น มากซ์มาคส์ไม่ได้เขียนให้เสร็จสิ้น แต่ได้รับการเรียบเรียงโดยเองเงิลส์จากบันทึกและร่างต่าง ๆ และตีพิมพ์หลังจากที่มากซ์มาคส์เสียชีวิตลงแล้ว
 
ช่วงเวลาที่เขาใช้ชีวิตอยู่ที่ลอนดอนนั้น ครอบครัวของมากซ์มาคส์ค่อนข้างยากจน และยังต้องอาศัยเงินช่วยเหลือจาก[[ฟรีดริช เองเงิลส์|เองเงิลส์]]เป็นระยะ ๆ มากซ์มาคส์เสียชีวิตที่ลอนดอนในปี ค.ศ. 1883 ([[พ.ศ. 2426]]) ศพของเขาฝังที่สุสานไฮห์เกต กรุงลอนดอน บนป้ายชื่อของเขาจารึกไว้ว่า: "กรรมาชีพในทุกพื้นถิ่น จงรวมพลัง!" ("Workers of all lands, unite!")
 
=== ชีวิตสมรส ===
เจนนี ฟอน เวสฟาเลน ผู้เป็นภรรยาของมากซ์มาคส์ มาจากครอบครัวราชการ ลุงของเธอคือไลออน ฟิลิปส์ บิดาของพี่น้องเจอราร์ดและแอนตันผู้ก่อตั้งบริษัท[[ฟิลิปส์]]ในปีค.ศ. 1891 ครอบครัวมากซ์มาคส์มีลูกหลายคน แต่ก็มีหลายคนที่เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก [[เอลินอร์ มากซ์มาคส์]]ลูกสาวของพวกเขา (1855-1898) ซึ่งเกิดในลอนดอน ก็เป็นนักสังคมนิยมที่ทุ่มเทและช่วยแก้ไขงานของพ่อของเธอ เจนนี มากซ์มาคส์เสียชีวิตในเดือนธันวาคมปีค.ศ. 1881 (พ.ศ. 2424)
 
== แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อความคิดของมากซ์มาคส์ ==
ความคิดของมากซ์มาคส์นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากทั้งแนวคิด[[วิภาษวิธี]]ประวัติศาสตร์ของ[[จอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล|เฮเกิล]] และเศรษฐศาสตร์การเมืองของ[[อดัม สมิธ]] และ[[เดวิด ริคาร์โด]] ([[:en:David Ricardo|David Ricardo]]) เขาเชื่อในความเป็นไปได้ที่จะศึกษา[[ประวัติศาสตร์]]และ[[สังคม]]ในลักษณะที่เป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะทำให้เข้าใจแนวโน้มของประวัติศาสตร์รวมถึงผลลัพธ์ของข้อขัดแย้งทางสังคมได้
[[ไฟล์:G.W.F. Hegel (by Sichling, after Sebbers).jpg|right|thumb|[[จอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล]]]]
 
ปรัชญาของมากซ์มาคส์ (ที่เฮเกล เรียกว่า [[วัตถุนิยมประวัติศาสตร์]]) นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงมาจากแนวคิดของเฮเกิลที่ว่าความจริง (รวมถึงประวัติศาสตร์) นั้นจะต้องพิจารณาแบบ[[วิภาษวิธี]] ([[:en:dialectic|dialectic]]) โดยมองว่าเป็นการปะทะกันของแรงคู่ตรงข้าม หลายครั้งแนวคิดนี้ถูกเขียนย่อว่าเป็น '''thesis + antithesis → synthesis''' (ข้อวินิจฉัย + ข้อโต้แย้ง → การประสม, การสังเคราะห์) เฮเกลเชื่อว่าทิศทางของประวัติศาสตร์นั้นสามารถพิจารณาได้เป็นช่วง ๆ ที่มีเป้าหมายไปสู่ความสมบูรณ์และจริงแท้ เขากล่าวว่าหลายครั้งพัฒนาการจะเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ก็อาจมีบางช่วงที่ต้องมีการต่อสู้และเปลี่ยนแปลงผู้ที่อยู่ในอำนาจเดิม มากซ์มาคส์ยอมรับภาพรวมของประวัติศาสตร์ตามที่เฮเกลเสนอ อย่างไรก็ตามเฮเกลนั้นเป็นนักปรัชญาแนว[[จิตนิยม]] ส่วนมากซ์มาคส์นั้นต้องการจะอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในรูปของวัตถุ เขาได้เขียนว่านักปรัชญาสายเฮเกลนั้นวางความเป็นจริงไว้บนหัว ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องจับมันให้วางเสียใหม่บนเท้าของตนเอง
 
ในการยอมรับวิภาษวิธีเชิงวัตถุ ซึ่งเป็นการปฏิเสธแนวคิดแบบจิตนิยมของเฮเกลนั้น มากซ์มาคส์ได้รับอิทธิพลมาจาก [[ลุดวิก ฟอยเออร์บาค]] ([[:en:Ludwig Feuerbach|Ludwig Feuerbach]]) ในหนังสือ "The Essence of Christianity" ฟอยเออร์บาคได้อธิบายว่า[[พระเจ้า]]นั้น คือผลงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ และคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ผู้คนยกย่องพระเจ้านั้น แท้จริงแล้วเป็นคุณลักษณะของ[[ความเป็นมนุษย์]]นั่นเอง มากซ์มาคส์ยอมรับแนวคิดเช่นนี้ และได้อธิบายว่า โลกวัตถุนั้นเป็นโลกที่แท้จริง ส่วนแนวคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับโลกนั้น ล้วนแล้วแต่เป็นผลสืบเนื่องมาจากโลกวัตถุ แม้ว่ามากซ์มาคส์จะเชื่อเช่นเดียวกับเฮเกิลและนักปรัชญาคนอื่น ๆ ในการแบ่งแยกโลกที่ปรากฏกับโลกที่แท้จริง เขาไม่เชื่อว่าโลกวัตถุนั้นจะซ่อนโลกที่แท้จริงทางจิตเอาไว้ ในทางกลับกัน มากซ์มาคส์ยังเชื่อว่า[[อุดมการณ์]]ที่ถูกสร้างผ่านทางประวัติศาสตร์และกระบวนการสังคมนั้น เป็นสิ่งที่ปิดบังไม่ให้ผู้คนเห็นสถาพทางวัตถุที่แท้จริงในชีวิตของพวกเขา
 
ผลงานอีกชิ้นหนึ่ง ที่มีส่วนสำคัญในการปรับปรุงแนวคิดของเฮเกลของมากซ์ลของมาคส์ คือ หนังสือที่เขียนโดย[[ฟรีดริช เองเงิลส์]] ชื่อว่า "The Condition of the Working Class in England in 1844" (สภาพของชนชั้นกรรมาชีพในอังกฤษในปี 1844) หนังสือเล่มนี้ทำให้มากซ์มาคส์มองวิภาษวิธีเชิงประวัติศาสตร์ออกมาในรูปของ[[ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น]] และมองเป็นว่า[[ชนชั้นกรรมาชีพ]]สมัยใหม่จะเป็นแรงผลักดันที่ก้าวหน้าที่สุดสำหรับการปฏิวัติ
 
== ปรัชญาของมากซ์มาคส์ ==
แนวคิดหลักของมากซ์มาคส์วางอยู่บนความเข้าใจเกี่ยวกับ '''[[แรงงาน]]''' โดยพื้นฐานแล้ว มากซ์มาคส์กล่าวว่ามนุษย์มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงสิ่งรอบข้าง เขาเรียกกระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ว่าการ '''ใช้แรงงาน''' และความพลังในการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า '''กำลังแรงงาน''' สำหรับมากซ์แล้วมาคส์แล้ว การใช้แรงงานนี้นอกจากจะเป็นความสามารถโดยธรรมชาติของกิจกรรมต่าง ๆ ทางกายภาพแล้ว แรงงานยังเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับความคิดและจินตนาการของมนุษย์ด้วย:
 
: แมงมุมทำกิจกรรมที่ไม่ต่างไปจากช่างทอผ้า และการสร้างรังของฝูงผึ้งก็สามารถทำให้สถาปนิกต้องอับอายได้ แต่ความแตกต่างระหว่างสถาปนิกที่แย่ที่สุดกับผึ้งที่เยี่ยมยอดที่สุดก็คือ สถาปนิกนั้นวาดภาพโครงสร้างของเขาในจินตนาการ ก่อนที่จะสร้างมันขึ้นมาในโลกความเป็นจริง.
 
นอกเหนือจากการที่อ้างว่าความสามารถของมนุษย์คือการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติแล้ว มากซ์มาคส์มิได้ใช้ข้ออ้างอื่น ๆ เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์อีกเลย.
 
มากซ์มาคส์สืบทอดแนวคิดแบบวิภาษวิธีของเฮเกิล ดังนั้นเขาจึงมักจะหลีกเลี่ยงความคิดที่ว่ามนุษย์มีธรรมชาติบางอย่างที่ไม่เปลี่ยนแปลง บางครั้งมากซ์สมาคส์สจะอธิบายแนวคิดนี้โดยการเปรียบเทียบระหว่าง "ธรรมชาติ" กับ "ประวัติศาสตร์" หลายครั้งพวกเขาจะกล่าวว่า "สภาพการมีอยู่นำหน้าสำนึก" นั่นคือใครคนหนึ่งจะเป็นอย่างใดนั้นขึ้นอยู่กับตำแหน่งแห่งหนและเวลาที่เขาอยู่ -- สถาพทางสังคมมีอำนาจมากกว่าพฤติกรรมดั้งเดิม หรืออาจกล่าวได้ว่าลักษณะสำคัญของมนุษย์คือการปรับตัวให้เขากับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
 
มากซ์มาคส์ไม่เชื่อว่าคนทุกคนจะทำงานในลักษณะเดียวกัน แต่เขาก็ไม่เชื่อเช่นเดียวกันว่าลักษณะที่ใครสักคนทำงานนั้นถูกกำหนดด้วยความคิดส่วนตัวไปทั้งสิ้น เขากลับอธิบายว่าการทำงานนั้นเป็นกิจกรรมทางสังคม และเงื่อนไขรวมถึงรูปแบบของการทำงานนั้นถูกกำหนดโดยสังคมและเปลี่ยนแปลงตามเวลา
 
การวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ของมากซ์มาคส์นั้นวางอยู่บนความแตกต่างระหว่าง '''[[ปัจจัยการผลิต]]''' ซึ่งหมายถึงสิ่งของเช่นที่ดินหรือทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปจนถึงเทคโนโลยี ที่จำเป็นต่อการผลิตสินค้าที่เป็นวัตถุ และ '''[[ความสัมพันธ์เชิงสังคมของการผลิต]]''' ที่กล่าวได้ว่าเป็นความสัมพันธ์เชิงสังคมที่ผู้คนถูกดึงเข้าไปร่วม เมื่อเขาได้เป็นเจ้าของและได้ใช้ปัจจัยการผลิต ปัจจัยสองประการนี้รวมเป็น '''[[รูปแบบการผลิต]]''' มากซ์มาคส์สังเกตว่าในสังคมหนึ่ง ๆ รูปแบบการผลิตนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย สำหรับสังคมทางยุโรปนั้นมีรูปแบบในการพัฒนาโดยเริ่มจากรูปแบบการผลิตแบบ[[ศักดินา]] ไปจนถึงรูปแบบการผลิตแบบ[[ทุนนิยม]] โดยทั่วไปแล้ว มากซ์มาคส์เชื่อว่าปัจจัยการผลิตนั้นเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็วมากกว่าความสัมพันธ์ของการผลิต ยกตัวอย่างเช่นเราได้พัฒนา[[เทคโนโลยี]]ใหม่ เช่น[[อินเทอร์เน็ต]] แต่ต้องใช้เวลาหลังจากนั้น ก่อนที่เราจะได้พัฒนากฎหมายที่ควบคุมเทคโนโลยีนั้น สำหรับมากซ์มาคส์แล้วการไม่เข้ากันของ ''ฐาน'' ทางเศรษฐกิจกับ ''[[โครงสร้างส่วนบน]]'' (superstructure) ทางสังคม คือสิ่งที่ทำให้เกิดความระส่ำระสายและความขัดแย้งในสังคม
 
ในการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงสังคมของการผลิตนั้น มากซ์มาคส์ไม่ได้มองแค่ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกแต่ละคน แต่ยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน หรือ กลุ่ม[[ชนชั้น]] มากซ์มาคส์มิได้นิยาม "ชนชั้น" ขึ้นมาโดยอาศัยใช้เพียงแค่การบรรยายแบบอัตวิสัย (subjective) เท่านั้น หากแต่ว่าเขายังพยายามจะนิยามชนชั้นด้วยเงื่อนไขที่เป็นแบบวัตถุวิสัย (objective) ด้วย เช่นการเข้าถึงทรัพยากรในการผลิต
 
มากซ์มาคส์ให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับกำลังแรงงาน ซึ่งเป็นทรัพยากรพื้นฐานที่สุดของมนุษย์เอง ในการอธิบายความสัมพันธ์นี้โดยละเอียด มากซ์มาคส์ทำโดยผ่านทางปัญหา[[ความแปลกแยก]] ซึ่งเกิดขึ้นกับผู้ใช้แรงงาน กล่าวคือ เมื่อกำลังแรงงานได้ถูกใช้ไปในการผลิต แต่เมื่อกิจกรรมนั้นสิ้นสุดลงกรรมสิทธิ์ของผลลัพธ์ที่ได้กลับตกไปเป็นของนายทุน นั่นคือมองได้ว่าเป็นการละทิ้งกรรมสิทธิ์ในกำลังแรงงานของตนเอง สภาวะเช่นนี้ก่อให้เกิดความแปลกแยกจากธรรมชาติของตนเอง และก่อให้เกิดความรู้สึกสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ ภาวะเช่นนี้ก่อให้เกิดสภาพ[[การคลั่งไคล้โภคภัณฑ์]] ([[:en:commodity fetishism|commodity fetishism]]) ซึ่งผู้คนจะคิดว่าสิ่งสำคัญที่พวกเขาสร้างขึ้นก็คือสินค้า ความสำคัญทุกอย่างจะถูกถ่ายโอนไปที่วัตถุรอบกายแทนที่จะเป็นผู้คนด้วยกันเอง หลังจากนั้นผู้คนจะมองเห็นและเข้าใจตนเองผ่านทางความสัมพันธ์กับทรัพย์สินหรือสินค้าที่ตนเองครอบครองไว้เท่านั้น
 
การคลั่งไคล้โภคภัณฑ์นี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของสิ่งที่เองเงิลส์เรียกว่า '''[[สำนึกที่ผิดพลาด]]''' ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเข้าใจในเรื่องของ '''อุดมการณ์''' ซึ่งมากซ์และเองเงิลส์มาคส์และเองเงิลส์ได้ให้ความหมายว่าเป็นความคิดที่สะท้อนผลประโยชน์ของบางชนชั้นในบางช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ แต่กลับถูกแสดงว่าเป็นความเชื่อที่ถูกต้องสำหรับทุก ๆ ชนชั้นและทุก ๆ เวลา ในความคิดของพวกเขานั้น ความเชื่อดังกล่าวมิได้เป็นเพียงแค่สิ่งที่ผิดพลาดเท่านั้น แต่ยังเป็นสิ่งที่ทำหน้าที่สำคัญทางการเมืองด้วย กล่าวในอีกนัยหนึ่งได้ว่า การควบคุมที่ชนชั้นหนึ่ง ๆ กระทำผ่านทางการครอบครองเครื่องมือการผลิตนั้นมิได้เกิดขึ้นเฉพาะกับกับการผลิตอาหารหรือสินค้าเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับการผลิตความคิดหรือความเชื่อด้วยเช่นกัน ความคิดนี้อาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่อธิบายว่าทำไมสมาชิกของชนชั้นที่ถูกกดขี่จึงยังมีความเชื่อที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของตนเอง ดังนั้นแม้ว่าความเชื่อบางอย่างจะผิดพลาดแต่มันก็ยังเผยให้เห็นความจริงบางอย่างที่ถูกซ่อนไว้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางการเมือง ยกตัวอย่างเช่น ความเชื่อที่ว่าสิ่งของที่คนผลิตขึ้นนั้นมีผลิตผลมากกว่าคนที่ผลิตมันขึ้นมานั้นอาจฟังประหลาด แต่มันก็แสดงให้เห็น (ในความคิดของมากซ์และเองเงิลส์มาคส์และเองเงิลส์) ว่าผู้คนภายใต้ระบบทุนนิยมนั้นถูกทำให้แปลกแยกจากกำลังแรงงานของตนเอง อีกตัวอย่างหนึ่งพบได้ในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนาโดยมากซ์มาคส์ ที่สรุปได้ในย่อหน้าหนึ่งของ ''Contribution to the Critique of Hegel's "Philosophy of Right:"''
 
: ความทุกข์ทางศาสนานั้นเป็นทั้งการแสดงออกของความทุกข์ที่แท้จริงและการประท้วงไม่ยอมแพ้ต่อความทุกข์ที่แท้จริง ศาสนาคือเสียงกรีดร้องของสิ่งมีชีวิตที่ถูกกดขี่ หัวใจของโลกที่ไร้หัวใจ และวิญญาณของสภาพไร้วิญญาณ มันคือฝิ่นของมวลชน
 
แม้ว่าในงานวิทยานิพนธ์ระดับเตรียมอุดมศึกษาเขาเคยอ้างว่าหน้าที่หลักของศาสนาคือการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่ในที่นี้มากซ์มาคส์มองว่าศาสนานั้นเป็นเครื่องมือทางสังคมสำหรับการแสดงออกและจัดการกับความเหลื่อมล้ำนั่นเอง
 
=== เราสามารถสรุปแนวคิดของคาร์ล มากซ์ได้คร่าวมาคส์ได้คร่าว ๆ ดังนี้ ===
# [[ประวัติศาสตร์]]ของ[[มนุษย์]]เป็นการต่อสู้ระหว่างชนชั้น โดยนับต้องแต่แรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เช่น ทาสกับนาย ไพร่กับผู้ดี นายจ้างกับลูกจ้าง โดยจะมีคนนึงเป็นผู้ข่มเหง และอีกคนหนึ่งเป็นผู้ถูกข่มเหง
# โลกของนายทุน ในโลกปัจจุบันเกิดชนชั้นใหม่ที่มีบทบาทในสังคมมาก ได้แก่พวกนายทุน นายทุนเอาเปรียบชนชั้นแรงงานทุกวิถีทาง อำนาจของนายทุนคืออำนาจทาง[[เศรษฐกิจ]]และ[[การเมือง]] โดย[[กษัตริย์]]และผู้ปกครองก็อยู่ภายใต้อิทธิพลนายทุนด้วย
บรรทัด 112:
# ไม่มีทรัพย์สินส่วนตัว ลักษณะที่สำคัญที่สุดของระบอบคอมมิวนิสต์คือ การล้มล้างทรัพย์สินส่วนตัว เพราะสิ่งนี้คือ สัญลักษณ์แห่งความเห็นแก่ตัว ของนายทุน
 
== การวิพากษ์ระบบทุนนิยมโดยมากซ์มาคส์ ==
มากซ์มาคส์อธิบายว่าสภาวะแปลกแยกของกำลังแรงงาน (ที่ทำให้เกิดการคลั่งไคล้โภคภัณฑ์) นั้นเป็นลักษณะเฉพาะตัวของ[[ระบบทุนนิยม]] หาใช่การเกิดขึ้นของตลาดเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้เนื่องจากก่อนหน้าจะมีระบบทุนนิยม ในยุโรปก็มีตลาดที่ผู้ค้าและผู้ผลิตได้ซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าอยู่แล้ว ในทัศนะของมากซ์มาคส์ รูปแบบการผลิตแบบทุนนิยมพัฒนาขึ้นในยุโรปเมื่อแรงงานถูกเปลี่ยนให้เป็นโภคภัณฑ์---นั่นคือ เมื่อชาวนามีอิสระที่จะขายกำลังแรงงานของตนเอง และอยู่ในภาวะจำเป็นต้องกระทำการดังกล่าวเนื่องจากการขาดที่ดินหรือเครื่องมือสำหรับการผลิต ผู้คนยอมขายกำลังกายของตนเมื่อเขายอมรับค่าตอบแทนสำหรับงานใด ๆ ที่เขาทำในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ (ในอีกทางหนึ่งก็คือ พวกเขาไม่ได้ขายผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการผลิต แต่พวกเขากลับขายความสามารถในการทำงาน) ค่าตอบแทนที่แลกมาด้วยกำลังแรงงานคือเงินที่ทำให้พวกเขามีชีวิตรอดต่อไปได้ กลุ่มคนที่ต้องขายกำลังแรงงานเพื่อการยังชีพคือ "ชนชั้น[[กรรมาชีพ]]" ในขณะที่คนที่ซื้อกำลังแรงงาน ซึ่งมักจะเป็นผู้ที่ครอบครองที่ดินและเครื่องมือรวมถึงเทคโนโลยีในการผลิตคือ "นายทุน" หรือ "[[กระฎุมพี]]" แน่นอนว่าจำนวนของชนกรรมาชีพย่อมมากกว่าจำนวนนายทุน มากซ์มาคส์เชื่อว่าการอธิบายระบบทุนนิยมในลักษณะนี้เป็นการอธิบายแบบ[[วัตถุพิสัย]] ซึ่งแตกต่างจากคำกล่าวอ้างอื่น ๆ เกี่ยวกับระบบทุนนิยม ซึ่งมักจะขึ้นกับอุดมการณ์บางอย่าง
 
มากซ์มาคส์แยกแยะความแตกต่างระหว่างนายทุนกับ[[ผู้ค้าขาย]] พ่อค้าแม่ค้าซื้อสินค้าจากที่หนึ่งมาเพื่อขายในอีกที่หนึ่ง หรือถ้าจะกล่าวให้ชัดเจนก็คือ พวกเขาซื้อของจากตลาดหนึ่งเพื่อไปขายยังอีกตลาดหนึ่ง เนื่องจากกฎ[[อุปสงค์]]และ[[อุปทาน]]ทำงานภายในตลาดใด ๆ ตลาดเดียว ราคาโภคภัณฑ์ระหว่างสองตลาดอาจมีความแตกต่างกันได้ ผู้ค้าขายจึงใช้ประโยชน์จากความแตกต่างนี้เพื่อหวังกำไร ในความคิดของมากซ์นั้นมาคส์นั้น นายทุนกลับใช้ความแตกต่างระหว่างตลาดแรงงานกับตลาดของโภคภัณฑ์ที่ผลิตขึ้น มากซ์มาคส์สังเกตว่าในทุก ๆ อุตสาหกรรมที่ประสบผลสำเร็จ ค่าจ้างแรงงานจะมีราคาต่ำกว่าราคาของสินค้าที่ผลิตได้ มากซ์มาคส์เรียกความแตกต่างนี้ว่า "[[มูลค่าส่วนเกิน]]" และอธิบายว่ากำไรของนายทุนนั้นเกิดจากมูลค่าส่วนเกินนี่เอง
 
รูปแบบการผลิตแบบทุนนิยมนั้นมีศักยภาพในการเติบโตได้มหาศาล ทั้งนี้เนื่องจากนายทุนนั้นสามารถนำผลกำไรที่ได้ไปลงทุนเพิ่มในเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ และนายทุนเองก็มีแรงจูงใจที่จะการลงทุนเพิ่มเติมในลักษณะเช่นนี้ด้วย มากซ์มาคส์มองว่าชนชั้นนายทุนเป็นกลุ่มที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นกลุ่มที่คอยปฏิวัติเครื่องมือในการผลิตอยู่ตลอดเวลา แต่มากซ์มาคส์เชื่อว่าในระบบทุนนิยมนั้นจะมีการเกิดวิกฤตเป็นระลอก ๆ เขาชี้ให้เห็นว่านายทุนจะลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ในปริมาณที่มากขึ้น ในขณะที่จะลดต้นทุนของแรงงานลงเรื่อย ๆ ด้วยเช่นกัน เนื่องจากมากซ์มาคส์เชื่อว่ามูลค่าส่วนเกินที่ได้จากการขูดรีดแรงงานคือที่มาของกำไร เขาสรุปว่าการลงทุนดังกล่าวจะทำให้อัตราได้กำไรลดลงแม้ว่าเศรษฐกิจจะเติบโตขึ้นก็ตาม การที่อัตราได้กำไรลดลงต่ำกว่าจุด ๆ หนึ่งจะก่อให้เกิดภาวะถดถอยหรือภาวะตกต่ำที่จะทำให้บางส่วนของระบบเศรษฐกิจจะพังลง มากซ์มาคส์เข้าใจว่าในช่วงวิกฤตดังกล่าวค่าจ้างแรงงานก็จะเกิดการตกต่ำลงเช่นเดียวกัน และในที่สุดก็จะทำให้การลงทุนในเทคโนโลยีใหม่เป็นไปได้ และทำให้เกิดการเติบโตขึ้นของส่วนใหม่ ๆ ของระบบเศรษฐกิจ
 
มากซ์เชื่อว่ามาคส์เชื่อว่า[[วงจรทางธุรกิจ|วงจร]]ของการเติบโต, ทรุด, และเติบโตใหม่ จะก่อให้เกิดภาวะวิกฤตที่เลวร้ายขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งไปกว่านั้นเขาเชื่อว่าผลกระทบในระยะยาวของกระบวนการนี้จะทำให้นายทุนมีความแข็งแกร่งขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่กรรมาชีพกลับยากจนลงทุกที เขาเชื่อว่าถ้ากรรมาชีพลุกขึ้นสู้และเข้ายึดครองเครื่องมือในการผลิตแล้ว พวกเขาจะสร้างความสัมพันธ์ในสังคมขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์กับทุก ๆ คนอย่างเท่าเทียม และก่อให้เกิดระบบการผลิตแบบใหม่ซึ่งทนทานต่อวิกฤตการณ์มากกว่าแต่ก่อน กล่าวโดยทั่วไปแล้ว มากซ์มาคส์เชื่อว่าการเจรจาอย่างสันติจะไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ และการปฏิวัติอย่างรุนแรงของมวลชนขนาดใหญ่ที่มีการจัดการที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็น เขากล่าวว่าเพื่อจะรักษาการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไว้ รัฐเผด็จการโดยกรรมาชีพจะต้องถูกสร้างขึ้น แต่หลังจากที่ระบบการผลิตแบบใหม่ได้เริ่มขึ้นรัฐดังกล่าวจะค่อย ๆ ลดความสำคัญลงและหายไปเอง
 
 
== อิทธิพลของแนวคิดของมากซ์มาคส์ ==
{{โครง-ส่วน}}
== การวิพากษ์มากซ์มาคส์โดยนักคิดร่วมสมัย ==
ทฤษฎีมากซ์สมาคส์สถูกวิพากษ์วิจารณ์จากหลาย ๆ มุมมอง
 
ผู้สนับสนุนระบบทุนนิยมได้อธิบายว่า แท้จริงแล้ว ในท้ายที่สุด ระบบทุนนิยมจะมีประสิทธิภาพในการสร้างและกระจายความร่ำรวย ได้ดีกว่าระบบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์ และช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน ที่มากซ์และเองเงิลส์กังวลนั้นมาคส์และเองเงิลส์กังวลนั้น เป็นแค่ปรากฏการณ์ชั่วคราวเท่านั้น. บางคนกล่าวว่า ความละโมบและความต้องการที่จะมีทรัพย์สินนั้น เป็นความต้องการพื้นฐานที่ซ่อนอยู่ของมนุษย์ หาใช่เป็นผลมาจากการรับเอาระบบทุนนิยมเข้ามา หรือว่าเกิดจากระบบเศรษฐกิจใด ๆ (แม้ว่า[[มานุษยวิทยาเชิงวัฒนธรรม|นักมานุษยวิทยา]]จะตั้งข้อสงสัยกับคำกล่าวอ้างนี้) และระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกันนั้น เกิดจากสังคมที่แตกต่างกันสะท้อนความจริงนี้ออกมาไม่เหมือนกัน กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์[[สายออสเตรีย]]วิจารณ์มากซ์มาคส์ในการใช้[[ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน]] นอกจากนี้นโยบายและการกระทำต่าง ๆ ของ[[รัฐสังคมนิยม]] ที่มักอ้างว่าเป็นการกระทำตามแนวคิดของมากซ์มาคส์ ได้ทำลายชื่อของมากซ์มาคส์อย่างมากมายใน[[โลกตะวันตก]]
 
มากซ์มาคส์เองก็โดนวิพากษ์วิจารณ์จากทางฝ่ายซ้ายด้วยเช่นกัน นักสังคมนิยมแนววิวัฒนาการไม่เชื่อคำอ้างของมากซ์ว่ามาคส์ว่า การสร้างรัฐสังคมนิยมจะต้องกระทำผ่านทางการปะทะระหว่างชนชั้น และการปฏิวัติอย่างรุนแรงเท่านั้น. บางกลุ่มก็กล่าวว่า ความไม่เท่าเทียมระหว่างชนชั้นนั้น ไม่ใช่ความไม่เท่าเทียมพื้นฐานของประวัติศาสตร์ และชี้ให้เห็นความปัญหาของ[[ลัทธิชายเป็นใหญ่]] และ[[การเหยียดชาติพันธุ์]] นอกจากนี้ยังมีการตั้งคำถามเกี่ยวกับความถูกต้อง ทั้งในด้านทฤษฎีและด้านประวัติศาสตร์ ในการใช้ "ชนชั้น" เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ และมีการตั้งคำถามในทิศทางเดียวกันนี้ ถึงการที่มากซ์มาคส์ถือความเชื่อของสมัยศตวรรษที่ 19 ที่เชื่อมวิทยาศาสตร์เข้ากับแนวคิดของ "ความก้าวหน้า" (ดู [[วิวัฒนาการเชิงสังคม]]) หลายคนเชื่อว่าระบบทุนนิยมเองได้เปลี่ยนแปลงไปมาก นับจากสมัยของมากซ์มาคส์ และการแบ่งแยกชนชั้นก็มีรูปแบบที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น โดยยกตัวอย่างจากการที่คนงานก็มีสิทธิถือครองหุ้นของบรรษัทขนาดใหญ่ได้ โดยผ่านทางกองทุน (ดู [[แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม]] และ [[แนวคิดหลังสมัยใหม่]] สำหรับการเคลื่อนไหวสองกลุ่มที่มักมีทิศทางสอดคล้องกับแนวคิดฝ่ายซ้าย ที่วิพากษ์มากซ์และมาคส์และ[[ลัทธิมากซ์มาคส์]])
 
ยังมีกลุ่มที่วิจารณ์มากซ์มาคส์โดยใช้ทัศนะจากการศึกษาด้านปรัชญาของวิทยาศาสตร์ ที่โดดเด่นก็คือ [[คาร์ล พอพเพอร์]] ผู้เป็นนักปรัชญา ได้วิพากษ์ทฤษฎีของมากซ์ว่ามาคส์ว่า เป็นสิ่งที่ตรวจสอบว่าผิดไม่ได้ ซึ่งจะทำให้คำอ้างทางประวัติศาสตร์ รวมถึงด้านสังคมและการเมืองของมากซ์นั้นมาคส์นั้น ไม่สอดคล้องกับหลักวิทยาศาสตร์ สาเหตุหลักมาจากการทำนายของมากซ์ว่ามาคส์ว่า ระบบทุนนิยมจะล่มสลายลงเนื่องจากการปฏิวัติของชนชั้น ผู้ที่ไม่เชื่อจะกล่าวว่า "สิ่งนี้จะไม่เกิดขึ้น" ในขณะที่เหล่ามากซ์สมาคส์สจะโต้ว่า "แต่มันจะต้องเกิด" ลักษณะเช่นนี้ทำให้ข้อพิสูจน์ต่าง ๆ ของแนวคิดมากซ์มาคส์ที่วางอยู่บนหลักฐานเชิง[[ประจักษ์นิยม]]นั้น เป็นไปไม่ได้ ด้วยเหตุผลนี้ พอพเพอร์จึงอธิบายว่า ไม่ว่ามากซ์มาคส์จะอ้างว่า ได้ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์ก็ตาม แต่ความจริงแล้ว ความคิดแนวมากซ์มาคส์ไม่สามารถเป็นความคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้. [[กลุ่มต่อต้านคอมมิวนิสต์]]ในฝั่งตะวันตกมักกล่าวโทษมากซ์มาคส์อย่างรุนแรง ซึ่งเป็นผลมาจากการมองมากซ์มาคส์ผ่านทางการกระทำของรัฐคอมมิวนิสต์ และปัญหาการเมืองเมื่อสมัย[[สงครามเย็น]]
 
พรรคการเมืองมากซ์สต์มาคส์สต์รวมถึงการเคลื่อนไหวต่าง ๆ นั้น ลดความเข้มแข็งลง ภายหลังจาก[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] นักวิจารณ์ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฝ่ายขวา ได้ใช้เหตุการณ์นี้อธิบายว่า เกิดขึ้นมาจากความล้มเหลวภายในหลาย ๆ อย่างในสหภาพโซเวียต และการล่มสลายที่ตามมานี้ เป็นผลพวงโดยตรงจากแผนการของมากซ์มาคส์ แสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวของแนวคิดมากซ์สม์มาคส์สม์. อย่างไรก็ตาม กลุ่มมากซ์สต์กล่าวว่ามาคส์สต์กล่าวว่า นโยบายของสหภาพโซเวียต ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบเลนินนิสต์และสตาลินนิสต์นั้น แม้จะดูผิวเผินแล้วคล้ายคลึงกับทฤษฎีของมากซ์มาคส์ แต่ในเนื้อแท้แล้วแตกต่างกันมาก. มากซ์มาคส์วิเคราะห์โลกในยุคสมัยของเขา และปฏิเสธที่จะเขียนแผนการว่าโลกสังคมนิยมจะต้องเป็นอย่างใด โดยเขากล่าวว่าเขามิได้ "เขียนตำราอาหาร สำหรับอนาคต". สำหรับภายนอกยุโรปและสหรัฐอเมริกาแล้ว การเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้าน[[ลัทธิจักรวรรดินิยม]] รวมถึงการกลุ่ม[[ชาตินิยม]] มักมีความสำคัญกว่าคอมมิวนิสต์. อย่างไรก็ตาม หลายครั้งกลุ่มเคลื่อนไหวนี้ ได้ใช้แนวคิดของมากซ์มาคส์เป็นพื้นฐานทางทฤษฎี.
 
ผู้สนับสนุนมากซ์มาคส์ในปัจจุบันกล่าวโดยทั่วไปว่า มากซ์มาคส์นั้นพูดไว้อย่างถูกต้องว่า ธรรมชาติของมนุษย์นั้นเป็นภาพสะท้อนมาจากผลของประวัติศาสตร์และสภาพทางสังคม (ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และไม่สามารถจะทำความเข้าใจได้ถ้ายังเชื่อว่ามีธรรมชาติที่แท้ของมนุษย์อยู่) พวกเขาเชื่อว่าการวิเคราะห์เกี่ยวกับสินค้าของมากซ์มาคส์ยังคงเป็นสิ่งที่ใช้ประโยชน์ได้ และความแปลกแยกก็ยังเป็นปัญหาที่สำคัญอยู่ พวกเขากล่าวว่าระบบทุนนิยมนั้น ไม่ได้ดำรงอยู่เป็นระบบโดด ๆ แยกกันไปตามแต่ละประเทศ ดังนั้นการวิเคราะห์จะต้องพิจารณาว่าเป็นระบบที่เชื่อมต่อกันในระดับโลก พวกเขากล่าวว่าเมื่อมองในระดับโลกแล้ว ระบบทุนนิยมในขณะนี้ก็อยู่ระหว่างการก่อตัว และก็กำลังขยายช่องว่างระหว่างคนมั่งมีและคนยากจนขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกับในประเทศอังกฤษในบทความของเองเงิลส์ ซึ่งช่องว่างนี้เองเป็นสิ่งที่ทำให้มากซ์มาคส์หันเหจากการศึกษาปรัชญามาสนใจปัญหาสังคม
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Karl Marx}}
* [http://www.marxists.org/archive/marx/ รายละเอียดคาร์ล มากซ์มาคส์]
* [http://www.gutenberg.org/author/Marx, %20Karl Project Gutenberg: Karl Marx]