ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กะบังลม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
 
บรรทัด 19:
'''กะบังลม''' ({{lang-en|Diaphragm}} หรือ Thoracic diaphragm) เป็นแผ่นของ[[กล้ามเนื้อโครงร่าง]]ในร่างกาย<ref>{{Cite book | last1 = Campbell | first1 = Neil A. | title = Biology: Australian Version | date = 2009 | edition = 8th | publisher = Pearson/Benjamin Cummings | location = Sydney | isbn = 978-1-4425-0221-5 | pages = 334 }}</ref>ขึงอยู่ด้านล่างของ[[ซี่โครง]] กะบังลมกั้นระหว่าง[[ช่องอก]] (ประกอบด้วยหัวใจ ปอด และซี๋โครง เป็นต้น) และ[[ช่องท้อง]] ทำหน้าที่สำคัญในการหายใจ ในทางกายวิภาคศาสตร์กะบังลมบางครั้งอาจหมายถึงโครงสร้างแบนอื่นๆ เช่น [[กะบังลมเชิงกราน]]หรือ[[ฐานเชิงกราน]] (pelvic diaphragm; เช่นในโรค "[[กะบังลมหย่อน]]" ที่หมายถึงการหย่อนของฐานเชิงกรานทำให้ทวารหนัก มดลูก หรือกระเพาะปัสสาวะยื่นออกมานอกช่องคลอด) แต่โดยทั่วไปแล้วคำว่า "กะบังลม" หมายถึงกะบังลมหน้าอก สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นเช่น[[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]]และ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]มีกะบังลมหรือโครงสร้างคล้ายกะบังลมแต่มีลักษณะจำเพาะที่แตกต่างกันออกไป เช่น ตำแหน่งของปอดในช่องท้อง เป็นต้น
<!--
== หน้าที่ ==เยดหี
กะบังลมทำหน้าที่ใน[[การหายใจ]] โดยในขณะหายใจเข้ากะบังลมจะหดตัว ทำให้ช่องอกขยายขนาดขึ้น (และมีกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงชั้นนอก (external intercostal muscles) ช่วยในการขยายช่องอก) ทำให้ความดันภายในช่องอกลดลง กล่าวคือช่องอกขยายขนาดขึ้นทำให้ดูดอากาศจากภายนอกเข้าสู่[[ปอด]]
 
บรรทัด 139:
</gallery>
-->
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}