ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดราชบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ikbenz9 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ikbenz9 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
== ภาพรวม ==
{{โครงส่วน}}
ผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ <ref name="ผลเลือกตั้ง">{{cite web |title=ประกาศการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการ ณ วันที่ 29 มีนาคม 2562 |url=https://www.ect.go.th/ewt/ewt/ect_th/download/article/article_20190328165029.pdf | publisher=สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง |accessdate=2 เมษายน พ.ศ.2562}}</ref>ว่าที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีจากพรรคพลังประชารัฐจำนวน 3 ราย คือ เขต 1 คือ [[กุลวลี นพอมรบดี]] บุตรสาวนาย [[มานิต นพอมรบดี]] และนาง[[กอบกุล นพอมรบดี]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี, เขต 2 คือ [[บุญยิ่ง นิติกาญจนา]] ประธานสโมสรราชบุรี มิตรผล เอฟซี <ref>http://www.komchadluek.net/news/scoop/323265</ref> ,และ เขต 3 คือ [[ปารีณา ไกรคุปต์]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรีหลายสมัย และบุตรสาวของนาย[[ทวี ไกรคุปต์]] พรรคประชาธิปัตย์ในเขต 4 คือ [[อัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์]] และพรรคภูมิใจไทยในเขต 5 คือ [[บุญลือ ประเสริฐโสภา]] อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ}</ref> เป็นที่น่าสังเกตว่า พรรคภูมิใจไทย ซึ่งมีฐานเสียงเดิมในจังหวัดราชบุรีที่มีแกนนำอย่างนาย[[สรอรรถ กลิ่นประทุม]] ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาพรรคภูมิใจไทย มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรลดลงในจังหวัดราชบุรี และท้ายที่สุดคะแนนเสียงของ[[พรรคอนาคตใหม่]]มีมากจนติดสามอันดับแรกในเกือบทุกเขตเลือกตั้ง
 
== ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต <ref name="ผลเลือกตั้ง"/> ==