ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 305:
ความเข้าใจระบบไหลเวียนโลหิตในปัจจุบันเริ่มต้นจากการศึกษาของแพทย์ชาวอังกฤษชื่อ [[วิลเลียม ฮาร์วีย์]] (William Harvey; ค.ศ. 1578–1657) ผู้ริเริ่มอธิบายการไหลเวียนเลือดในหนังสือ "''De motu cordis''" บาทหลวงชาวอังกฤษชื่อ[[สตีเฟน เฮลส์]] (Stephen Hales) ได้ตีพิมพ์เรื่องการวัดความดันเลือดเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1733 <ref name="pmid1744849"/><ref name=Kotchen2011>{{cite journal |author=Kotchen TA |title=Historical trends and milestones in hypertension research: a model of the process of translational research |journal=Hypertension |volume=58 |issue=4 |pages=522–38 |year=2011 |month=October |pmid=21859967 |doi=10.1161/HYPERTENSIONAHA.111.177766}}</ref> การอธิบายความดันโลหิตสูงเป็นโรคมาจาก[[โทมัส ยัง]] (Thomas Young) ในปี ค.ศ. 1808 และ[[ริชาร์ด ไบรท์]] (Richard Bright) ในปี ค.ศ. 1836<ref name="pmid1744849"/> คนแรกที่รายงานภาวะความดันโลหิตสูงในผู้ที่ไม่มีโรคไตคือ[[เฟรเดริก อัคบาร์ โมฮาเหม็ด]] (Frederick Akbar Mahomed; ค.ศ. 1849–1884)<ref>{{cite book |editor=Swales JD|title=Manual of hypertension |publisher=Blackwell Science |location=Oxford |year=1995 |pages=xiii |isbn=0-86542-861-1}}</ref> อย่างไรก็ตามความดันโลหิตสูงมีความสำคัญทางคลินิกตั้งแต่ ค.ศ. 1896 เมื่อมีการประดิษฐ์เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดปลอกแขนโดย[[ชีปีโอเน รีวา-รอชชี]] (Scipione Riva-Rocci) ในปีดังกล่าว<ref>{{cite book | title=A century of arterial hypertension 1896–1996 | editor=Postel-Vinay N | page=213 | location=Chichester | publisher=Wiley | year=1996 | isbn=0-471-96788-2}}</ref> ซึ่งทำให้เริ่มมีการวัดความดันเลือดในคลินิก ในปี ค.ศ. 1905 [[นีโคไล โครอทคอฟ]] (Nikolai Korotkoff) ได้พัฒนาเทคนิคการวัดความดันโลหิตโดยการริเริ่มอธิบาย[[เสียงโครอทคอฟ]] (Korotkoff sounds) ซึ่งเป็นเสียงจากหลอดเลือดแดงที่ได้ยินผ่านเครื่องฟังตรวจขณะที่ลดความดันปลอกแขนของเครื่องวัดความดันโลหิต<ref name=Kotchen2011/>
 
ในประวัติศาสตร์ การรักษาโรคที่เรียกว่า "โรคชีพจรแข็ง" (hard pulse disease) คือการลดปริมาณเลือดในร่างกาย โดย[[การเจาะเลือดออก]] (bloodletting) หรือการใช้[[ปลิง]]ดูดเลือด<ref name="pmid1744849">{{cite journal |author=Esunge PM |title=From blood pressure to hypertension: the history of research |journal=J R Soc Med |volume=84 |issue=10 |pages=621 |year=1991 |month=October |pmid=1744849 |pmc=1295564}}</ref> การรักษาด้วยวิธีดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจาก[[จักรพรรดิหวงตี้]]ของจีน [[ออลัส คอร์นีเลียส เซลซัซ]] [[กาเลน]] และ[[ฮิปพอคราทีส]]<ref name="pmid1744849"/> ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ก่อนที่การรักษาด้วยยาลดความดันโลหิตจะมีประสิทธิภาพ การรักษาความดันโลหิตสูงประกอบด้วย 3 วิธีการ ซึ่งมีผลข้างเคียงมาก ได้แก่ การงดบริโภคโซเดียมอย่างเข้มงวด (เช่นการห้ามบริโภคข้าว<ref name="pmid1744849"/>) การผ่าตัดเอาระบบประสาทซิมพาเทติกออก (sympathectomy) และการฉีดสารที่ทำให้เกิด[[ไข้]]เพื่อลดความดันเลือดโดยตรง (pyrogen therapy) <ref name="pmid1744849"/><ref name=Dustan>{{cite journal |author=Dustan HP, Roccella EJ, Garrison HH |title=Controlling hypertension. A research success story |journal=Arch. Intern. Med. |volume=156 |issue=17 |pages=1926–35 |year=1996 |month=September |pmid=8823146 |doi=10.1001/archinte.156.17.1926}}</ref> สารเคมีชนิดแรกที่ใช้รักษาความดันโลหิตสูงคือ[[โซเดียมไทโอไซยาไนด์]] (sodium thiocyanate) ใช้ใน ปี ค.ศ. 1900 แต่มีผลข้างเคียงมากและไม่เป็นที่นิยม<ref name="pmid1744849"/> สารอื่นๆอื่น ๆ ได้รับการพัฒนาภายหลังช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] สารที่ได้รับความนิยมและมีประสิทธิภาพ เช่น [[เททระเมทิลแอมโมเนียมคลอไรด์]] (tetramethylammonium chloride) และอนุพันธ์ของมัน เช่น [[เฮกซะเมโทเนียม]] (hexamethonium), [[ไฮดราลาซีน]] (hydralazine) และ[[รีเซอร์พีน]] (reserpine) (อนุพันธ์จากพืช ''[[Rauwolfia serpentina]]'') ความสำเร็จครั้งใหญ่คือการค้นพบยาลดความดันโลหิตที่สามารถรับประทานได้ชนิดแรกคือ [[คลอโรไทอะไซด์]] (chlorothiazide) ในปี ค.ศ. 1958 ซึ่งเป็น[[ยาขับปัสสาวะ]]ชนิด[[ไทอะไซด์]]ที่พัฒนาจากยาปฏิชีวนะ[[ซัลฟานิลาไมด์]] (sulfanilamide)<ref name="pmid1744849"/><ref>{{cite journal|author=Novello FC, Sprague JM | title=Benzothiadiazine dioxides as novel diuretics | journal=J. Am. Chem. Soc. | year=1957 | volume=79 | pages=2028 | doi=10.1021/ja01565a079|issue=8}}</ref>
 
== สังคมและวัฒนธรรม ==