ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 84:
ความดันโลหิตสูงแบบปฐมภูมิ (primary hypertension) หรือความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (essential hypertension) เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด ประมาณร้อยละ 90-95 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด<ref name="pmid10645931"/> ความดันโลหิตสูงเป็นผลจากความสัมพันธ์ซับซ้อนระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม มีการศึกษาพบ[[ยีน]]หลายชนิดที่มีผลเล็กน้อยต่อความดันโลหิต<ref name="pmid21909115">{{cite journal |author=Ehret GB |title=Genetic variants in novel pathways influence blood pressure and cardiovascular disease risk |journal=Nature |volume=478 |issue=7367 |pages=103–9 |year=2011 |month=October |pmid=21909115 |doi=10.1038/nature10405 |author-separator=, |author2=Munroe PB |author3=Rice KM |display-authors=3 |last4=Bochud |first4=Murielle |last5=Johnson |first5=Andrew D. |last6=Chasman |first6=Daniel I. |last7=Smith |first7=Albert V. |last8=Tobin |first8=Martin D. |last9=Verwoert |first9=Germaine C. |pmc=3340926}}</ref> และมียีนจำนวนน้อยมากที่มีผลอย่างมากต่อความดันโลหิต<ref>{{cite journal|last=Lifton|first=RP|coauthors=Gharavi, AG, Geller, DS|title=Molecular mechanisms of human hypertension|journal=Cell|date=2001-02-23|volume=104|issue=4|pages=545–56|pmid=11239411|doi=10.1016/S0092-8674 (01) 00241-0}}</ref> แต่สุดท้ายปัจจัยด้านพันธุกรรมต่อความดันโลหิตสูงยังไม่เป็นที่เข้าใจกันมากนักในปัจจุบัน
 
ความดันเลือดเพิ่มขึ้นตามอายุ และความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงในวัยสูงอายุนั้นสูง<ref>{{cite journal|last=Vasan|first=RS|coauthors=Beiser, A, Seshadri, S, Larson, MG, Kannel, WB, D'Agostino, RB, Levy, D|title=Residual lifetime risk for developing hypertension in middle-aged women and men: The Framingham Heart Study|journal=JAMA: the Journal of the American Medical Association|date=2002-02-27|volume=287|issue=8|pages=1003–10|pmid=11866648|doi=10.1001/jama.287.8.1003}}</ref> ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมหลายอย่างที่มีผลต่อความดันเลือด ความเครียดอาจมีผลต่อความดันเลือดเล็กน้อย<ref name=Stress2012>{{cite journal|last=Marshall|first=IJ|coauthors=Wolfe, CD; McKevitt, C|title=Lay perspectives on hypertension and drug adherence: systematic review of qualitative research.|journal=BMJ (Clinical research ed.)|date=9 July 2012|volume=345|pages=e3953|pmid=22777025|pmc=3392078}}</ref> ปัจจัยอื่นๆอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อความดันโลหิตสูงแต่ยังไม่ชัดเจน ได้แก่ การบริโภค[[คาเฟอีน]]<ref>Mesas AE, Leon-Muñoz LM, Rodriguez-Artalejo F, Lopez-Garcia E. The effect of coffee on blood pressure and cardiovascular disease in hypertensive individuals: a systematic review and meta-analysis. Am J Clin Nutr. 2011;94:1113–26.</ref> และการขาด[[วิตามินดี]]<ref>{{cite journal |author=Vaidya A, Forman JP |title=Vitamin D and hypertension: current evidence and future directions |journal=Hypertension |volume=56 |issue=5 |pages=774–9 |year=2010 |month=November |pmid=20937970 |doi=10.1161/HYPERTENSIONAHA.109.140160 |url=}}</ref> เชื่อกันว่า[[ภาวะดื้อต่ออินซูลิน]] (insulin resistance) ซึ่งพบได้บ่อยในคนอ้วนและเป็นองค์ประกอบของ[[กลุ่มอาการเมแทบอลิก]] (metabolic syndrome) เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง<ref name="pmid12364344">{{cite journal |author=Sorof J, Daniels S |title=Obesity hypertension in children: a problem of epidemic proportions |journal=Hypertension |volume=40 |issue=4 |pages=441–447 |year=2002 |month=October |pmid=12364344 |doi= 10.1161/01.HYP.0000032940.33466.12|url=http://hyper.ahajournals.org/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=12364344 |accessdate=2009-06-03}}</ref> การศึกษาเร็วๆเร็ว ๆ นี้พบนัยยะว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นของชีวิต เช่น น้ำหนักแรกเกิดน้อย มารดาสูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ และการไม่ได้[[การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่|เลี้ยงลูกด้วยนมแม่]] อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุในผู้ใหญ่<ref name = "Lawlor 2005">{{cite journal|last=Lawlor|first=DA|coauthors=Smith, GD|title=Early life determinants of adult blood pressure|journal=Current opinion in nephrology and hypertension|date=May 2005|volume=14|issue=3|pages=259–64|pmid=15821420|doi=10.1097/01.mnh.0000165893.13620.2b}}</ref> แต่ทั้งนี้การอธิบายกลไกดังกล่าวยังคลุมเครือ<ref name = "Lawlor 2005"/>
 
=== ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ===