ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ย่างกุ้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Payute (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Payute (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47:
{{มีอักษรพม่า}}
 
'''ย่างกุ้ง''',<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=118|issue=ตอนพิเศษ 117ง|pages=2|title=ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง (พ.ศ. 2544)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF|date=26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544|language=ไทย}}</ref> '''ยานโกน''' ({{MYname|MY=ရန်ကုန်|MLCTS=Rankun}}, {{IPA-my|jàɴɡòʊɴ|pron}}; "อวสานจุดจบแห่งสงคราม")<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2548, หน้า 211.</ref> หรือ '''ร่างกุ้ง''' ({{lang-en|Rangoon}}) เป็นเมืองหลักเมืองหลวงของ[[เขตย่างกุ้ง]] และเป็นเมืองหลวงทางการค้าของพม่า ย่างกุ้งทำหน้าที่เป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี พ.ศ. 25492006 เมื่อรัฐบาลทหารย้ายเมืองหลวงศูนย์ราชการไปยัง[[เนปยีดอ]]ในภาคกลางของประเทศพม่า ย่างกุ้งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศมีประชากรกว่า 7 ล้านคน และเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญที่สุดของพม่า<ref>{{Cite news| url =http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/4848408.stm | title =Burma's new capital stages parade |publisher=BBC News | date =27 March 2006 | accessdate =3 August 2006}}</ref> ด้วยประชากรกว่า 7 ล้านคนย่างกุ้งจึงเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของพม่าและเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญที่สุด
 
ย่างกุ้งมีจำนวนอาคารยุคอาณานิคมมากที่สุดในภูมิภาคนี้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้<ref name="bygone">{{Cite news|last=Martin |first=Steven |date=30 March 2004 |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/3578993.stm |title=Burma maintains bygone buildings |publisher=BBC News |accessdate=22 May 2006}}</ref> และเป็นมีใจกลางเมืองในยุคอาณานิคมที่มีอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร<ref>{{cite news|title=As Myanmar Modernizes, Architectural Gems Are Endangered|url=http://www.npr.org/sections/parallels/2014/06/04/299058830/as-myanmar-modernizes-architectural-gems-are-endangered|accessdate=8 April 2017|agency=National Public Radio|date=June 4, 2014}}</ref> เศรษฐกิจศูนย์กลางการค้ายุคอาณานิคมมีแห่งนี้เป็นศูนย์กลางบริเวณอยู่รอบรอบ[[เจดีย์สุเลซูเล]]ซึ่งขึ้นชื่อว่าเก่าแก่มีอายุมากกว่า 2,000 ปี<ref>{{cite book|last1=De Thabrew|first1=W. Vivian|title=Buddhist Monuments And Temples Of Myanmar And Thailand|date=11 March 2014|publisher=AuthorHouse|isbn=9781491896228|url=https://books.google.com/books?id=qGg6AwAAQBAJ&pg=PA12&dq=sule+pagoda&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwjMlciZ2JPTAhXE6oMKHeTgClwQ6AEILzAD#v=onepage&q=sule%20pagoda&f=false|accessdate=8 April 2017}}</ref> เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของ[[เจดีย์ชเวดากอง]] ซึ่งเป็นเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในพม่า ย่างกุ้งยังเป็นที่ตั้งสุสานของจักรพรรดิโมกุลองค์สุดท้ายก็ตั้งอยู่ในย่างกุ้ง ซึ่งเขาถูกอังกฤษเนรเทศมายังย่างกุ้งหลังการจลาจลของอินเดียในปี ค.ศ. 1857
 
ย่างกุ้งมีได้รับผลกระทบจากโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่อื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีการปรับปรุงอาคารที่ว่าที่อยู่อาศัยที่มีชือเสียงในประวัติศาสตร์และอาคารเชิงพาณิชย์เก่าแก่หลายแห่งในจะได้รับการปรับปรุงใหม่ทั่วใจกลางเมืองย่างกุ้ง แต่มุมมองจากดาวเทียมบริเวณย่านโดยรอบส่วนใหญ่ของเมือง ยังมีความคงยากจนและยังขาดโครงสร้างขั้นพื้นฐาน<ref>{{cite web|title=Rapid migration and lack of cheap housing fuels Yangon slum growth|url=http://www.myanmar-now.org/news/i/?id=15af2551-98ae-4b69-bc63-9091702da2fa|website=Myanmar Now|accessdate=8 April 2017|date=2016-02-27}}</ref>
 
==นิรุกติศาสตร์==
==ที่มาของชื่อ==
ย่างกุ้ง ({{lang|my|ရန်ကုန်}}) เป็นคำผสมที่เกิดจากคำว่า ''ยาน'' ({{lang|my|ရန်, ''yan''}}) ซึ่งมีความหมายว่า ศัตรู ข้าศึก และคำว่า ''โกน'' ({{lang|my|ကုန်, ''koun''}}) ซึ่งมีความหมายว่า หมดไป ซึ่งสามารถแปลได้อีกอย่างว่า อวสานสงครามหรือสิ้นสุดจุดจบแห่งสงคราม
 
ส่วนคำว่าย่างกุ้งในภาษาอังกฤษ Rangoon มีที่มาจากการเลียนเสียงของคำว่า ''ยานโกน'' ซึ่งใน[[ภาษายะไข่]]ออกเสียงเป็น ''รอนกู้น'' {{IPA|[rɔ̀ɴɡʊ́ɴ]}} ขณะที่ในภาษาไทยยังไม่แน่ชัดว่าเกิดจากการเลียนเสียงจากภาษาใดกันแน่
 
==ประวัติศาสตร์==
{{See also|เส้นเวลาของยางกุ้ง|รายการเปลี่ยนชื่อในย่างกุ้ง}}
===ประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรก===
 
ย่างกุ้งก่อตั้งขึ้นในชื่อ ดากอง (Dagon - ภาษามอญเรียกว่า "ตะเกิง") ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 (พ.ศ. 1571–1586) โดยชาวมอญซึ่งครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของพม่าในขณะนั้น<ref>Founded during the reign of King Pontarika, per {{cite book | title=Legendary History of Burma and Arakan | year=1882 | author=Charles James Forbes Smith-Forbes | publisher=The Government Press | page=20}}; the king's reign was 1028 to 1043 per {{cite book | last = Harvey| first = G. E.| title = History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824 | publisher=Frank Cass & Co. Ltd | year = 1925| location = London | page=368}}</ref> ดากอนเป็นหมู่บ้านชาวประมงเล็ก ๆ ซึ่งมีศูนย์กลางคือเจดีย์ชเวดากอง ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้าอลองพญา ได้บุกยึดดากอง พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น ย่างกุ้ง (Yangon) และมีการตั้งถิ่นฐานของราษฎรที่เพิ่มขึ้นตลอดมา เมื่อถึง พ.ศ. 2367 กองทัพอังกฤษสามารถยึดเมืองย่างกุ้งได้ในสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งแรก แต่หลังจากสงคราม อังกฤษก็คืนย่างกุ้งให้แก่พม่า ใน พ.ศ. 2384 เกิดเพลิงไหม้ใหญ่ในเมืองซึ่งทำลายเมืองไปเกือบทั้งหมด<ref name=mcy>{{Cite book| title=Megacity yangon: transformation processes and modern developments | author=Kyaw Kyaw | isbn=3-8258-0042-3 | editor=Frauke Krass, Hartmut Gaese, Mi Mi Kyi | pages=333–334 | publisher=Lit Verlag | location=Berlin | year=2006}}</ref>
===ประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกในช่วงต้น===
ย่างกุ้งก่อตั้งขึ้นในชื่อ ดากอง (Dagon - ภาษามอญเรียกว่า "ตะเกิง") ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 (พ.ศ. 1571–1586) โดยชาวมอญซึ่งครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของพม่าในขณะนั้น<ref>Founded during the reign of King Pontarika, per {{cite book | title=Legendary History of Burma and Arakan | year=1882 | author=Charles James Forbes Smith-Forbes | publisher=The Government Press | page=20}}; the king's reign was 1028 to 1043 per {{cite book | last = Harvey| first = G. E.| title = History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824 | publisher=Frank Cass & Co. Ltd | year = 1925| location = London | page=368}}</ref> ดากอนเป็นหมู่บ้านชาวประมงเล็ก ๆ ซึ่งมีศูนย์กลางคือเจดีย์ชเวดากอง ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้าอลองพญา ได้บุกยึดดากอง พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น ย่างกุ้ง (Yangon) และมีการตั้งถิ่นฐานของราษฎรที่เพิ่มขึ้นตลอดมา เมื่อถึง พ.ศ. 2367 กองทัพอังกฤษสามารถยึดเมืองย่างกุ้งได้ใน[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งแรกที่หนึ่ง]] แต่หลังจากสงคราม อังกฤษก็คืนย่างกุ้งให้แก่พม่า ใน พ.ศ. 2384 เกิดเพลิงไหม้ใหญ่ในเมืองซึ่งทำลายเมืองไปเกือบทั้งหมด<ref name=mcy>{{Cite book| title=Megacity yangon: transformation processes and modern developments | author=Kyaw Kyaw | isbn=3-8258-0042-3 | editor=Frauke Krass, Hartmut Gaese, Mi Mi Kyi | pages=333–334 | publisher=Lit Verlag | location=Berlin | year=2006}}</ref>
 
===ย่างกุ้งในยุคอาณานิคม===
[[File:Yangon Rangoon and Environ map 1911.jpg|thumb|upright=1.35|แผนที่ย่างกุ้งและบริเวณโดยรอบ, 2454]]
อังกฤษยึดย่างกุ้งและส่วนล่างของพม่าทั้งหมดได้ในระหว่าง[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สอง]]เมื่อ พ.ศ. 2395 และได้เปลี่ยนย่างกุ้งให้กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการเมืองของ[[พม่าของอังกฤษ]] (British Burma) และยังเป็นสถานที่ซึ่งอังกฤษส่งตัวจักรพรรดิบาฮาดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ที่ 2 จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โมกุลของอินเดียมาจองจำหลังจากเกิดเหตุการณ์กบฎอินเดีย หรือ[[กบฎซีปอย]]ขึ้นเมื่อปี 2400 อังกฤษได้สร้างเมืองย่างกุ้งใหม่โดยวางผังเมืองเป็นรูปตารางบนที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ โดยมีร้อยโทอเล็กซานเดอร์ เฟรเซอร์ นายทหารช่างเป็นผู้ควบคุมการออกแบบ มีพื้นที่ทอดยาวไปทางทิศตะวันออกจรดแม่น้ำพะซุนดวง (Pazundaung Creek) ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดแม่น้ำย่างกุ้ง
[[File:Public Gardens, Rangoon.jpg|thumb|left|ทิวทัศน์ของ Cantonment Gardens (ปัจจุบันคือ Kandaw Mingalar Garden) ในปี 1868]]
 
[[File:RangoonStreetView.jpg|thumb|left|ความเสียหายของใจกลางเมืองกรุงย่างกุ้งหลังสงครามโลกครั้งที่สอง]]
ย่างกุ้งกลายเป็นเมืองหลวงพม่าของอังกฤษหลังจากที่อังกฤษยึดพม่าตอนบนได้ในสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่ 3 เมื่อปี 2428 และตั้งแต่ทศวรรษที่ 1890 เป็นต้นมา ประชากรและการค้าในย่างกุ้งเติบโตขึ้นอย่างรุ่งเรืองซึ่งเป็นผลให้เมืองขยายออกไปทางเหนือจรดรอยัลเลกหรือทะเลสาบกันดอจี (Kandawgyi) และทะเลสาบอินยา (Inya Lake)<ref name="autogenerated4">{{cite web|url=http://www.bookrags.com/Yangon |title=Yangon Summary Review and Analysis |publisher=Bookrags.com |date=17 October 2005 |accessdate=17 April 2010}}</ref> นอกจากนี้อังกฤษยังได้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้น หนึ่งในนั้นคือ โรงพยาบาลย่างกุ้ง (Rangoon General Hospital) และวิทยาลัย ซึ่งก็คือ [[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]] (Rangoon University) ในปัจจุบัน
อังกฤษยึดย่างกุ้งและส่วนล่างของพม่าทั้งหมดได้ในระหว่าง[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สอง]]เมื่อ พ.ศ. 2395 และได้เปลี่ยนย่างกุ้งให้กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการเมืองของ[[พม่าภายใต้การปกครองของอังกฤษสหราชอาณาจักร]] (British Burma) และในปีพ.ศ. 2396 อังกฤษได้ย้ายเมืองหลวงของประเทศพม่าจาก[[เมาะลำเลิง]] มายังย่างกุ้ง<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/3578993.stm|title=BBC NEWS {{!}} Asia-Pacific {{!}} Burma maintains bygone buildings|publisher=BBC|access-date=27 July 2017|date=2004-03-30}}</ref><ref>{{Cite news|url=http://www.thehindu.com/todays-paper/tp-in-school/moulmein-first-british-capital-of-myanmar-back-on-the-tourist-map/article5000457.ece|title=Moulmein, first British capital of Myanmar, back on the tourist map|work=The Hindu|access-date=27 July 2017}}</ref> ย่างกุ้งยังเป็นสถานที่ซึ่งอังกฤษส่งตัวจักรพรรดิบาฮาดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ที่ 2 จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โมกุลของอินเดียมาจองจำหลังจากเกิดเหตุการณ์กบฎอินเดีย หรือ[[กบฎซีปอย]]ขึ้นเมื่อปี 2400 อังกฤษได้สร้างเมืองย่างกุ้งใหม่โดยวางผังเมืองเป็นรูปตารางบนที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ โดยมีร้อยโทอเล็กซานเดอร์ เฟรเซอร์ นายทหารช่างเป็นผู้ควบคุมการออกแบบ มีพื้นที่ทอดยาวไปทางทิศตะวันออกจรดแม่น้ำพะซุนดวง (Pazundaung Creek) ทิศทางตะวันตกและทิศทางใต้จรดแม่น้ำย่างกุ้ง ย่างกุ้งกลายเป็นเมืองหลวง[[พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร]]หลังจากที่อังกฤษยึด[[พม่าตอนบน]]ได้ใน[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่สาม]] เมื่อปี 2428 และตั้งแต่ทศวรรษที่ 1890 เป็นต้นมา ประชากรและการค้าในย่างกุ้งเติบโตขึ้นอย่างรุ่งเรืองซึ่งเป็นผลให้เมืองขยายออกไปทางเหนือจรดรอยัลเลกหรือทะเลสาบกันดอจี (Kandawgyi) และทะเลสาบอินยา (Inya Lake)<ref name="autogenerated4">{{cite web|url=http://www.bookrags.com/Yangon |title=Yangon Summary Review and Analysis |publisher=Bookrags.com |date=17 October 2005 |accessdate=17 April 2010}}</ref> นอกจากนี้อังกฤษยังได้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้น หนึ่งในนั้นคือ โรงพยาบาลย่างกุ้ง (Rangoon General Hospital) และวิทยาลัย ซึ่งก็คือ [[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]] (Rangoon University) ในปัจจุบัน
 
ย่างกุ้งในยุคอาณานิคม มีสวนสาธารณะและทะเลสาบที่กว้างขวาง อีกทั้งยังประกอบไปด้วยอาคารที่ทันสมัยและสถาปัตยกรรมไม้แบบดั้งเดิม ทำให้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "สวนเมืองแห่งทิศตะวันออก" (the garden city of the East)<ref name="autogenerated4" /> และในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ย่างกุ้งก็มีการบริการสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานที่เทียบเท่า[[ลอนดอน]]เลยทีเดียว<ref name="arc">{{Cite book| last=Falconer| first=John| year=2001| title=Burmese Design & Architecture| isbn=962-593-882-6| publisher=Periplus| location=Hong Kong|display-authors=etal}}</ref>
 
ในช่วงก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ประชากรเกินครึ่งของประมาณร้อยละ 555 แสนคนของประชากรในย่างกุ้งจำนวน 500,000 คน เป็น[[ชาวอินเดีย]]หรือไม่ก็ชาว[[เอเชียใต้]]อื่น ๆ มีเพียงแค่ 1 ใน 3 เท่านั้นที่เป็น[[ชาวพม่า]]<ref name=tmmt>{{Cite book| title=Indian Communities in south-east Asia - Some Aspects of Indians in Rangoon| last=Tin Maung Maung Than| publisher=Institute of south-east Asian Studies| year=1993| pages=585–587| isbn= 9789812304186}}</ref> ขณะที่เหลือประกอบไปด้วย[[ชาวกะเหรี่ยง]] [[พม่าเชื้อสายจีน]] และลูกครึ่งอังกฤษ-พม่า
 
หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ย่างกุ้งกลายเป็นศูนย์กลางของการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชโดยมีนักศึกษาฝ่ายซ้ายเป็นแกนนำ มีการประท้วงต่อจักรวรรดิอังกฤษทั้งหมด 3 ครั้ง ในปี 2463, 2479 และ 2481 ทั้งหมดเกิดขึ้นในย่างกุ้ง ย่างกุ้งตกอยู่ภายใต้การยึดครองของญี่ปุ่น (2485-2488) และเมืองได้รับความเสียหายอย่างมากจากสงครามโลกครั้งที่สอง แต่ก็ยึดคืนมาได้หลังสงครามสิ้นสุดลงโดยฝ่ายสัมพันธมิตร ในเดือนพฤษภาคม 2488 ย่างกุ้งกลายเป็นเมืองหลวงของ[[สหภาพพม่า]]เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 เมื่อประเทศได้รับเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษ
 
===ย่างกุ้งในสมัยปัจจุบัน===
ไม่นานหลังจากการที่พม่าได้รับเอกราชของพม่าเมื่อปี 2491 ชื่อหลายชื่อของถนนและสวนสาธารณะหลายแห่งที่เป็นแบบอาณานิคมถูกเปลี่ยนให้มีความเป็นชาตินิยมพม่ามากขึ้น ในปี 2532 รัฐบาลทหารพม่าได้เปลี่ยนชื่อเมืองในภาษาอังกฤษเป็น Yangon (เดิม Rangoon) พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ อีกมากมายในการทับศัพท์ภาษาอังกฤษโดยชื่อพม่า การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากชาวพม่าจำนวนมากซึ่งคิดว่ารัฐบาลทหารไม่มีความเหมาะสมที่จะทำการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เช่นเดียวกับสื่อสิ่งพิมพ์ สำนักข่าวหลายสำนัก รวมไปถึงสื่อที่มีชื่อเสียงอย่าง [[บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ]](สำนักข่าวบีบีซี) สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและชาติอื่น ๆ<ref>{{Cite news|author=Who, What, Why? |url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/magazine/7013943.stm |title=Should it be Burma or Myanmar? |publisher=BBC News |date=26 September 2007 |accessdate=17 April 2010}}</ref><ref>{{cite web| url=http://www.state.gov/r/pa/ei/bgn/35910.htm | title=Background Note: Burma | publisher=Bureau of East Asian and Pacific Affairs, US Department of State | accessdate=1 January 2009}}</ref>
 
นับตั้งแต่ได้รับเอกราช ย่างกุ้งมีการขยายตัวออกไปมาก รัฐบาลได้สร้างเมืองขึ้นมาโดยรอบ เช่นในทศวรรษที่ 1950 สร้างย่านธาเกตา (Thaketa) ออกกะลาปาเหนือ (North Okkalapa) ออกกะลาปาใต้ (South Okkalapa) จนถึงทศวรรษที่ 1980 เกิดย่านไลง์ตายา (Hlaingthaya) ชเวปยีธา (Shwepyitha) และดากอนใต้ (South Dagon)<ref name=mcy/> ทำให้ทุกวันนี้มหานครย่างกุ้งครอบคลุมมีพื้นที่เกือบ 600 ตารางกิโลเมตร (230 ตารางไมล์)<ref name=uncrd/>
 
ในช่วงการปกครองแบบลัทธิโดดเดี่ยวโดยนายพล[[เนวี่น]] (2505–2531) โครงสร้างพื้นฐานของย่างกุ้งเสื่อมโทรมมากเนื่องจากไม่ได้รับการบำรุงรักษาที่ดีและไม่รองรับกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 รัฐบาลทหารมีนโยบายเปิดตลาดมากขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและนอกต่างประเทศซึ่งช่วยให้โครงสร้างพื้นฐานของเมืองมีความทันสมัยขึ้นตามสมควร ผู้อยู่อาศัยในเมืองชั้นในถูกขับให้ไปอยู่ยังบริเวณรอบนอกเมืองที่สร้างขึ้นใหม่ อาคารหลายอาคารแห่งในยุคอาณานิคมถูกทำลายเพื่อเปิดทางให้กับโรงแรมสูงระฟ้า อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้า<ref name="beyondrangoon">{{Cite news| title=Beyond Rangoon| url=http://www.irrawaddy.org/article.php?art_id=5745&page=3| date=1 May 2006| author=Edward Blair| publisher=The Irrawaddy}}</ref>ทำให้สภาเมืองต้องเขียนรายชื่อสิ่งปลูกสร้างยุคอาณานิคมที่โดดเด่นกว่า 200 รายการภายใต้รายการมรดกเมืองย่างกุ้งในปี 2539<ref>{{Cite news| title=Special Report| url=http://www.myanmar.gov.mm/myanmartimes/no87/New/14.htm| date=4 November 2001}}</ref>โครงการก่อสร้างที่สำคัญส่งผลให้มีสะพานใหม่หกแห่งและทางหลวงสายใหม่อีกห้าเส้นทางเชื่อมโยงเมืองไปยังพื้นที่อุตสาหกรรมด้านนอก<ref>{{Cite news| url=http://www.myanmar.com/myanmartimes/MyanmarTimes17-333/b006.htm| title=Pioneering FMI City 'the best in Yangon'| author=Zaw Htet| work=The Myanmar Times}}</ref><ref>{{cite web| url=http://www.fmprc.gov.cn/ce/cemm/eng/zt/zmjjqd/jmgxgk/t198979.htm| title=Yangon-Thanlyin Bridge| accessdate=7 September 2008}}{{Dead link|date=July 2009}}</ref><ref name="ngamoeyeik">{{Cite news| url=http://www.myanmar.gov.mm/Perspective/persp2001/2-2001/nga.htm | title=Ngamoeyeik Bridge| author=Kyi Kyi Hla| date=1 February 2001}}</ref> ถึงกระนั้นก็ตาม พื้นที่ย่างกุ้งส่วนใหญ่ยังคงไม่มีบริการเทศบาลขั้นพื้นฐานเช่นไฟฟ้าตลอด 24 ชั่วโมงและการเก็บขยะตามปกติ
 
ย่างกุ้งกลายเป็นของชาวพม่าพื้นเมืองมากขึ้นนับตั้งแต่การประกาศเอกราช หลังจากการประกาศเอกราชชาวเอเชียใต้และลูกครึ่งอังกฤษ-พม่าจำนวนมากได้ย้ายออกไป ชาวเอเชียใต้หลายคนถูกบังคับให้ย้ายออกไปในช่วงทศวรรษ 1960 โดยรัฐบาลที่เกลียดชาวต่างประเทศของเนวิน<ref name=tmmt/> อย่างไรก็ตามชุมชนชาวเอเชียใต้และชาวจีนที่กว้างใหญ่ยังคงมีอยู่ในย่างกุ้ง ส่วนลูกครึ่งอังกฤษ-พม่าหายไปอย่างเห็นชัดมากกว่าโดยย้ายออกจากประเทศหรือไม่ก็แต่งงานกับชาวพม่ากลุ่มอื่น ๆ
 
ย่างกุ้งเป็นศูนย์กลางของการประท้วงต่อต้านรัฐบาลครั้งใหญ่ในปี 2517, 2531 และ 2550 การลุกฮือของพลังประชาชนในพ.ศ. 2531 ส่งผลให้มีการเสียชีวิตของพลเรือนชาวพม่าหลายร้อยคน และมากมายในย่างกุ้งที่ซึ่งประชาชนหลายร้อยคนหลั่งไหลกันออกมาเต็มถนนในเมืองหลวง [[การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์]]ประสบกับการกราดยิงใส่ฝูงชนและการเผาศพในย่างกุ้งโดยรัฐบาลพม่าเพื่อลบหลักฐานการก่ออาชญากรรมต่อพระสงฆ์ ผู้ประท้วงที่ปราศจากอาวุธ นักข่าวและนักศึกษา<ref>Burmese Human Rights Yearbook, 2007, http://www.burmalibrary.org/show.php?cat=1320&lo=d&sl=0</ref>
 
ถนนในเมืองประสบกับการนองเลือดทุกครั้งขณะที่ผู้ประท้วงถูกยิงโดยรัฐบาล
นับตั้งแต่ได้รับเอกราชย่างกุ้งมีการขยายตัวออกไปมาก รัฐบาลได้สร้างเมืองขึ้นมาโดยรอบ เช่นในทศวรรษที่ 1950 สร้างย่านธาเกตา (Thaketa) ออกกะลาปาเหนือ (North Okkalapa) ออกกะลาปาใต้ (South Okkalapa) จนถึงทศวรรษที่ 1980 เกิดย่านไลง์ตายา (Hlaingthaya) ชเวปยีธา (Shwepyitha) และดากอนใต้ (South Dagon)<ref name=mcy/> ทำให้ทุกวันนี้มหานครย่างกุ้งครอบคลุมพื้นที่เกือบ 600 ตารางกิโลเมตร (230 ตารางไมล์)<ref name=uncrd/>
 
ในเดือนพฤศจิกายน 2548 รัฐบาลทหารกำหนดให้กรุงเนปีดอซึ่งอยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือราว 320 กิโลเมตร (199 ไมล์) เป็นเมืองหลวงทางปกครองแห่งใหม่และต่อมาย้ายที่ทำการรัฐบาลจำนวนมากไปยังเมืองที่ถูกพัฒนาใหม่นี้ อย่างไรก็ตาม ย่างกุ้งยังคงเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญที่สุดของพม่า
ในช่วงการปกครองแบบลัทธิโดดเดี่ยวโดยนายพล[[เนวี่น]] (2505–2531) โครงสร้างพื้นฐานของย่างกุ้งเสื่อมโทรมมากเนื่องจากไม่ได้รับการบำรุงรักษาที่ดีและไม่รองรับกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 รัฐบาลทหารมีนโยบายเปิดตลาดมากขึ้นเพื่อดึงดูดการลงทุนทั้งจากในและนอกประเทศซึ่งช่วยให้โครงสร้างพื้นฐานของเมืองมีความทันสมัยขึ้นตามสมควร ผู้อยู่อาศัยในเมืองชั้นในถูกขับให้ไปอยู่ยังบริเวณรอบนอกเมืองใหม่ อาคารหลายอาคารในยุคอาณานิคมถูกทำลายเพื่อเปิดทางให้กับโรงแรมสูงระฟ้า อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้า
 
ในเดือนพฤษภาคม 2551 พายุไซโคลนนาร์กีสถล่มย่างกุ้ง ในขณะที่เมืองมีผู้เสียชีวิตเพียงเล็กน้อย แต่โครงสร้างพื้นฐานทางอุตสาหกรรมของย่างกุ้งถูกทำลายหรือเสียหายถึงประมาณสามในสี่ ความสูญเสียประมาณ 800 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>{{Cite news| url=http://www.mmtimes.com/no427/b004.htm | title=Long road back for industrial recovery | date=14 July 2008 | author=Ye Lwin | work=The Myanmar Times}}</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}