ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WongPra (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chalee24051998 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20:
| languages2 = [[อักษรเขมร]]
| ethnic_groups = {{unbulleted list
| 79.260% [[ชาวเขมร|เขมร]]
| 9.640% [[ชาวเขมรเชื้อสายเวียดนาม|เวียดนาม]]<ref>{{cite web|url=http://minorityrights.org/minorities/ethnic-vietnamese/|title=Ethnic Vietnamese - Minority Rights Group|publisher=}}</ref>
| 7.5% [[กัมพูชาเชื้อสายจีน|จีน]]<ref>{{cite web|url=http://minorityrights.org/minorities/chinese-2/|title=Chinese - Minority Rights Group|publisher=}}</ref>
| 2.8% [[ชาวจาม|จาม]]<ref>{{cite web|url=http://minorityrights.org/minorities/cham/|title=Cham - Minority Rights Group|publisher=}}</ref>
| 0.9% อื่นๆ
บรรทัด 45:
| established_event4 = [[ยุคมืดของกัมพูชา|ยุคมืด]]
| established_date4 = ค.ศ. 1431–1863
| established_event5 = {{nowrap|[[ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2497–2513)|เอกราช]]<br />(จาก [[ฝรั่งเศส]] [[ไทย]])}}
| established_date5 = 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1953
| established_event6 = เข้าร่วม[[สหประชาชาติ]]
บรรทัด 104:
ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] มี[[พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี]] มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ [[สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน]] ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี
 
ใน พ.ศ. 1345 [[พระเจ้าชัยวรมันที่ 2]] ปราบดาภิเษกตนเป็นพระมหากษัตริย์ อันเป็นจุดเริ่มต้นของ[[จักรวรรดิขะแมร์]] อำนาจและความมั่งคังมหาศาลของจักรวรรดิขะแมร์ที่มีพระมหากษัตริย์ครองราชสมบัติสืบต่อกันมานั้นได้มีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเวลากว่า 600 ปี กัมพูชาถูกปกครองเป็นเมืองขึ้นของประเทศเพื่อนบ้าน คือ สยาม หรือ ประเทศไทย กระทั่งถูกฝรั่งเศสยึดเป็นอาณานิคมในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 กัมพูชาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2496 [[สงครามเวียดนาม]]ได้ขยายเข้าสู่กัมพูชา ทำให้[[เขมรแดง]]ขึ้นสู่อำนาจ ซึ่งยึดกรุงพนมเปญได้ใน พ.ศ. 2518 กัมพูชาผงาดขึ้นอีกหลายปีให้หลังภายในเขตอิทธิพลสังคมนิยมเป็น[[สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา]]กระทั่ง พ.ศ. 2536 หลังจากหลายปีแห่งการโดดดี่ยว ชาติซึ่งเสียหายจากสงครามก็ได้รวมเข้าด้วยกันอีกครั้งภายใต้ระบอบราชาธิปไตยในปีเดียวกันนั้นเอง
ราชอาณาจักรกัมพูชาได้รับอิทธิพลศิลปะต่างๆมาจากประเทศไทยและประเทศอินเดีย ในสมัยก่อนกัมพูชาเป็นเมืองขึ้นของสยามหรือประเทศไทยในปัจจุบันหลังจากนั้นเข้าสู่ยุคการล่าอาณานิคมของฝรั่งเศสกัมพูชาจึงตกอยู่ใต้การปกครองของฝรั่งเศสและได้ทำการประกาศเอกราชในเวลาต่อมาจึงมีวัฒนธรรมผสมหลายอย่างจากสยาม เวียดนามและกัมพูชา
 
ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมืองนานหลายทศวรรษ กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ ประเทศกัมพูชาได้มีหนึ่งในบันทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี ภาคสิ่งทอ เกษตรกรรม ก่อสร้าง เสื้อผ้าและการท่องเที่ยวที่เข้มแข็งได้นำไปสู่การลงทุนจากต่างชาติและการค้าระหว่างประเทศ<ref>[http://www.phnompenhpost.com/index.php/2011051849188/Business/cambodia-to-outgrow-ldc-status-by-2020.html Cambodia to outgrow LDC status by 2020 | Business | The Phnom Penh Post – Cambodia's Newspaper of Record]. The Phnom Penh Post (May 18, 2011). Retrieved on June 20, 2011.</ref> ใน พ.ศ. 2548 มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา การขุดเจาะเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2556 รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชาอย่างลึกซึ้ง<ref>{{cite news|title=Oil Revenue Not Likely Until 2013: Ministry|author=Ek Madra|date=January 19, 2007|agency=Reuters |url=http://cambotoday.blogspot.com/2009/06/oil-revenue-not-likely-until-2013.html|accessdate=December 19, 2011|archiveurl=http://web.archive.org/20120118093421/cambotoday.blogspot.com/2009/06/oil-revenue-not-likely-until-2013.html|archivedate=January 18, 2012}}</ref>