ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PlyrStar93 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 223.24.170.215 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฮับส์บูร์ก" → "ฮาพส์บวร์ค" ด้วยสจห.
บรรทัด 2:
| conventional_long_name = สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
| common_name = เยอรมนี
| native_name = {{small|''Bundesrepublik Deutschland'' <br> {{small|''บุนเดิสรีพูบลิค ดอยชลันท์'' {{de}}}}}}
| image_flag = Flag of Germany.svg
| image_coat = Coat of arms of Germany.svg
| national_motto = <br />"{{lang|de|Einigkeit und Recht und Freiheit}}" {{smaller| สามเท่านั้น และตั้งแต่ ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา เพลงชาติในปัจจุบันนับเฉพาะเนื้อร้องในบทที่สามของเพลงดังกล่าวถูกยกให้เป็นเพลงชาติเยอรมนี<ref name=PresidentsOffice>{{cite web | url = http://www.bundespraesident.de/DE/Amt-und-Aufgaben/Wirken-im-Inland/Repraesentation-und-Integration/repraesentation-und-integration-node.html | title = Repräsentation und Integration | author = Bundespräsidialamt | authorlink = Bundespräsidialamt | language = German | accessdate = 8 March 2016 | quote = Nach Herstellung der staatlichen Einheit Deutschlands bestimmte Bundespräsident von Weizsäcker in einem Briefwechsel mit Bundeskanzler Helmut Kohl im Jahr 1991 die dritte Strophe zur Nationalhymne für das deutsche Volk. [In 1991, following the establishment of German unity, Federal President von Weizsäcker, in an exchange of letters with Chancellor Helmut Kohl, declared the third verse [of the Deutschlandlied] to be the national anthem of the German people.] | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20160307221541/http://www.bundespraesident.de/DE/Amt-und-Aufgaben/Wirken-im-Inland/Repraesentation-und-Integration/repraesentation-und-integration-node.html | archivedate = 7 March 2016 }}</ref>|group=efn}}<br /> {{smaller|"เพลงแห่งเยอรมัน"}}<br /> <div style="display:inline-block;margin-top:0.4em;">[[ไฟล์:National anthem of Germany - U.S. Army 1st Armored Division Band.ogg]]</div>
 
| image_map = EU-Germany.svg
บรรทัด 107:
* [[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออก]] – บริเวณเยอรมนี ออสเตรีย เช็กเกีย สโลวะเกีย ฮังการี สโลวีเนีย โครเอเชีย และบางส่วนของบอสเนีย
* [[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก]] – บริเวณตอนกลางและตะวันตกของฝรั่งเศส
อาณาจักรแฟรงก์ตะวันออกแผ่ขยายดินแดนอย่างมากมายครอบคลุมถึงอิตาลีในรัชสมัย[[ออทโทที่ 1 มหาราช|พระเจ้าออทโทที่ 1]] ในปีค.ศ. 962 พระองค์ก็ปราบดาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งชาวโรมันตามแบบอย่างชาร์เลอมาญ และสถาปนา[[ราชวงศ์ออทโท]] ถือเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ซึ่งในศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ภายใต้[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์กฮาพส์บวร์ค]]มีดินแดนในอาณัติกว่า 1,800 แห่งทั่วยุโรป
 
[[ไฟล์:HRR.gif|thumb|261px|อาณาเขตของ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]]]
===== การผงาดของราชอาณาจักรปรัสเซีย =====
{{บทความหลัก|ปรัสเซีย}}
เดิมที ราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นดินแดนหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และยอมรับนับถือจักรพรรดิในกรุงเวียนนาเป็นเจ้าเหนือหัว อย่างไรก็ตาม ปรัสเซียเริ่มแตกหักกับราชวงศ์ฮับส์บูร์กเมื่อฮาพส์บวร์คเมื่อ[[จักรพรรดิคาร์ลที่ 6 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 6]] เสด็จสวรรคตในปี 1740 ทายาทของจักรพรรดิคาร์ลมีเพียงพระราชธิดาเท่านั้น [[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]] ทรงคัดค้านการให้สตรีครองบัลลังก์จักรวรรดิมาตลอด พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเปิดฉากรุกรานดินแดน[[ไซลีเซีย]]ของ[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์กฮาพส์บวร์ค]] เกิดเป็นสงครามไซลีเซียครั้งที่หนึ่ง และบานปลายเป็น[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]]ที่มีอังกฤษและสเปนเข้ามาร่วมอยู่ฝ่ายเดียวกับปรัสเซีย สงครามครั้งนี้จบลงด้วยความเสียเปรียบของฮับส์บูร์กฮาพส์บวร์ค ราชสำนักกรุงเวียนนาต้องสูญเสียดินแดนจำนวนมากแก่ปรัสเซียและพันธมิตร ราชสำนักกรุงเบอร์ลินแห่งปรัสเซียได้ผงาดบารมีขึ้นมาเป็นขั้วอำนาจใหม่ในจักรวรรดิเทียบเคียงราชสำนักกรุงเวียนนา แม้ว่าโดยนิตินัยแล้ว ปรัสเซียจะยังคงถือเป็นดินแดนหนึ่งในจักรวรรดิภายใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์กก็ตามฮาพส์บวร์คก็ตาม
 
=== สมาพันธรัฐเยอรมันและจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1815–1918) ===