ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมุทร ศิษย์นฤพนธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
บรรทัด 21:
'''สมุทร ศิษย์นฤพนธ์''' อดีตแชมป์โลกคนที่ 11 ของไทย มีชื่อจริงว่า '''วัชรชัย ศรประเสริฐ''' เกิดเมื่อวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2502]] ที่[[เขตพญาไท]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
== แชมป์ OPBF==
สมุทร เริ่มชกมวยจากฝึก[[มวยไทย]]มาก่อนกับครูประทีป โชคดี ใช้ชื่อว่า " เกรียงไกร สิงห์อิตาเลี่ยน " โดยมีในขณะที่น้ำหนักยังไม่ถึง ประทีป100 โชคดี เป็นเทรนเนอร์ปอนด์ แต่ทว่าการชกมวยไทยไม่ประสบความสำเร็จ แพ้มากกว่าชนะ จึงเปลี่ยนมาชกในแบบสากล โดยมี ส.ท.พัฒน์ บุญเปี่ยมใจ เป็นผู้ฝึกสอน และเปลี่ยนชื่อเป็น " มหาสมุทร ศิษย์นฤพนธ์ " ต่อมา พ.อ.บรรจุ อ่องแสงคุณ โปรโมเตอร์ประจำ[[เวทีราชดำเนิน]]เห็นฟอร์มการชกเข้า จึงให้การสนับสนุน จนได้ครองแชมป์ 105 ปอนด์ของเวที และสนับสนุนให้ชิงแชมป์[[สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก]] (OPBF) ในรุ่นเดียวกันนี้ ที่กรุง[[โตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] และเปลี่ยนชื่อเป็น " สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ " ซึ่งสมุทรก็สามารถเอาชนะคะแนนนักมวยชาวญี่ปุ่นไปได้ด้วยคะแนนขาดลอย
 
พ.ศ. 2529 OPBF จัดตั้งแชมป์รุ่น 105 ปอนด์ขึ้น เฉลิมพงษ์ เชี่ยวสกุลที่เป็นกรรมการจัดอันดับในขณะนั้นผลักดันสมุทรขึ้นเป็นรองอันดับ 1 ได้ชิงแชมป์[[สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก]] (OPBF) รุ่นนี้ที่ว่าง ที่กรุง[[โตเกียว]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]สมุทรชนะคะแนนนักมวยชาวญี่ปุ่นไปได้ด้วยคะแนนขาดลอย ต่อจากนั้นได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์ OPBF นี้ได้ถึง 4 ครั้งด้วยกัน
ต่อจากนั้นได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์ OPBF นี้ไวได้ถึง 4 ครั้งด้วยกัน ต่อมา พ.อ.บรรจุ อ่องแสงคุณ ได้นำสถาบัน[[สหพันธ์มวยนานาชาติ]] (IBF) เข้ามาในเมืองไทย และตำแหน่งแชมป์โลกรุ่น 105 ปอนดฺยังว่างอยู่ เนื่องจาก คุง ยุง ลี นักมวย[[เกาหลีใต้]]สละแชมป์ไป จึงผลักดันให้สมุทรขึ้นชิงแชมป์ที่ว่างอยู่นี้กับ [[พริตตี้ บอย ลูคัส]] นักมวยชาว[[ฟิลิปปินส์]] ที่เวทีมวยราชดำเนิน ซึ่งสมุทรสามารถเอาชนะลูคัสได้ไปในยกที่ 11 เนื่องจากลูคัสคิวแตกเป็นแผลยาว จากนั้น สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ ได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์ไว้ได้อีก 2 ครั้ง ด้วยการชนะ ฮวาง อิน เคียว นักมวยชาวเกาหลีใต้ ที่เวทีราชดำเนินร และเสมอกับ [[นิกโก้ โธมัส]] นักมวยชาว[[อินโดนีเซีย]] ที่อินโดนีเซีย และในการป้องกันตำแหน่งครั้งที่ 3 พบกับนิโก้ โธมัส คู่ปรับเดิมอีก คราวนี้ปรากฎว่า สมุทรเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป
 
== แชมป์โลกคนที่ 11 ==
สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ ครองตำแหน่งแชมป์โลกด้วยระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 1 ปี กับ 3 เดือน และเป็นแชมป์โลกที่อาจเรียกว่าเป็นแชมป์โลกผู้อาภัพหรือแชมป์โลกที่ถูกลืมก็ว่าได้ เนื่องจากไม่เป็นที่รู้จักมากนักของแฟนมวย ประกอบกับการได้เป็นแชมป์ในรุ่นเล็กของสถาบันที่เพิ่งจะก่อตั้งในครั้งนั้นด้วย คือ IBF ซึ่งบางคนไม่ยอมรับ หลังจากเสียแชมป์โลกไปแล้ว สมุทร ก็แขวนนวมทันที และรับราชการเป็นทหารชั้นประทวน ที่[[กรมการขนส่งทหารบก]] สะพานแดง [[เขตบางซื่อ]]
 
ต่อจากนั้นได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์ OPBF นี้ไวได้ถึง 4 ครั้งด้วยกัน ต่อมา พ.อ.บรรจุ อ่องแสงคุณ ได้นำสถาบัน[[สหพันธ์มวยนานาชาติ]] (IBF) เข้ามาในเมืองไทย และตำแหน่งแชมป์โลกรุ่น 105 ปอนดฺยังว่างอยู่ เนื่องจาก [[ลี คุงยุน]] ยุง ลี นักมวย[[เกาหลีใต้]]สละแชมป์ไป จึงผลักดันให้สมุทรขึ้นชิงแชมป์ที่ว่างอยู่นี้กับ [[พริตตี้ บอย ลูคัส]] นักมวยชาว[[ฟิลิปปินส์]] ที่เวทีมวยราชดำเนิน ซึ่งสมุทรสามารถเอาชนะลูคัสได้ไปในยกที่ 11 เนื่องจากลูคัสคิวคิ้วแตกเป็นแผลยาว จากนั้น สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ ได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์ไว้ได้อีก 2 ครั้ง ด้วยการชนะ ฮวาง อิน เคียว นักมวยชาวเกาหลีใต้ ที่เวทีราชดำเนินร และเสมอกับ [[นิกโก้ โธมัส]] นักมวยชาว[[อินโดนีเซีย]] ที่อินโดนีเซีย และในการป้องกันตำแหน่งครั้งที่ 3 พบกับนิโก้ โธมัส คู่ปรับเดิมอีก คราวนี้ปรากฎว่า สมุทรเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป
 
== แชมป์ผู้อาภัพ ==
 
หลังจากเป็นแชมป์โลกแล้ว ชื่อเสียงของสมุทร ศิษย์นฤพนธ์ค่อนข้างอับเฉาไม่โด่งดังเหมือนดชมปืโลกยุคเดียวกันอย่าง[[สด จิตรลดา]] [[เขาค้อ แกแล็คซี่|เขาค้อ]] - [[เขาทราย แกแล็คซี่]] ป้องกันตำแหน่งแชมป์ไว้ได้อีก 2 ครั้ง ด้วยการชนะ ฮวาง อิน เคียว นักมวยชาวเกาหลีใต้ ที่เวทีราชดำเนินร และเสมอกับ [[นิกโก้ โธมัส]] นักมวยชาว[[อินโดนีเซีย]] ที่อินโดนีเซีย และในการป้องกันตำแหน่งครั้งที่ 3 พบกับนิโก้ โธมัส คู่ปรับเดิมอีก คราวนี้ปรากฎว่า สมุทรเป็นฝ่ายแพ้คะแนนไป รวมเวลาครองตำแหน่งแชมป์โลกด้วยระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 1 ปี กับ 3 เดือน หลังจากเสียแชมป์โลกไปแล้ว สมุทร ก็แขวนนวมทันที และรับราชการเป็นทหารชั้นประทวน ที่[[กรมการขนส่งทหารบก]] สะพานแดง [[เขตบางซื่อ]]
 
==เกียรติประวัติ==
เส้น 44 ⟶ 51:
==อ้างอิง==
* [http://www.boxrec.com/boxer_display.php?boxer_id=034391 สถิติการชก boxrec.com] {{en icon}}
* ชายพจน์. มวยดังไทยแลนด์ในอดีต:"แชมป์โลกรั้วของชาติ" สมุทร ศิษย์นฤพนธ์ แชมป์ OPBF และแชมปืโลกคนที่ 11. นิตยสารมวยโลก. เล่มที่ 867. พฤษภาคม 2544. หน้า 42-44
 
{{เกิดปี|2502}}
เส้น 50 ⟶ 58:
[[หมวดหมู่:แชมป์โลก IBF]]
[[หมวดหมู่:ทหารบกชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ชาวกรุงเทพมหานคร]]