ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปสงค์และอุปทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Vermont (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.7.250.74 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 183.88.219.34
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.0]
บรรทัด 4:
โดยทั่วไป '''อุปสงค์''' ({{Lang-en|demand}}) หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Demand". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 114. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref> ในขณะที่'''อุปทาน''' (supply) หมายถึง ความต้องการขายสินค้าและบริการ<ref>Bannock G., R.E. Baxter, and R. Rees. (1985), "Supply". ''The Penguin Dictionary of Economics'', 3rd ed. Harmondsworth: Penguin Books Ltd, 420. ISBN 0-14-051134-2. {{en icon}}</ref>
 
== อุปสงค์และอุปทาน ==
 
 
''อุปสงค์'' (Law of Demand) และ'''อุปทาน''' (Law of Supply) เป็นหลักการที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อหรือขาย โดยกฎอุปสงค์ระบุว่า ปริมาณความต้องการซื้อสินค้า หรือเรียกว่าปริมาณอุปสงค์ (quantity demanded) มีความสัมพันธ์ในทางลบกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะต้องการซื้อสินค้านั้นน้อยลง กฎอุปทานระบุว่า ปริมาณสินค้าที่ต้องการขาย หรือปริมาณอุปทาน (quantity supplied) มีความสัมพันธ์ในทางบวกกับราคา เมื่อปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลนั้นคงที่ กล่าวคือเมื่อราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ผู้ขายมีแนวโน้มที่จะต้องการขายสินค้ามากขึ้นบวง
 
กฎอุปสงค์และอุปทาน มักนำเสนอออกมาในรูปแบบของ[[แผนภูมิเส้น]] โดยให้แกนตั้งเป็นราคา และแกนนอนเป็นปริมาณสินค้า เส้นอุปสงค์มักเขียนออกมาเป็นเส้นลาดลง และเส้นอุปทานเป็นเส้นชันขึ้น แม้ว่าโดยทั่วไปเส้นกราฟอุปทานจะมีลักษณะชันขึ้น อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่เส้นกราฟอุปทานที่ว่ากันว่าแบบสมมติฐาน ตัวอย่างของข้อยกเว้นนี้ได้แก่ เส้นกราฟอุปทานของแรงงานที่มีลักษณะของการโน้มกลับ กล่าวคือ เมื่ออัตราค่าแรงเพิ่มขึ้น คนงานคนหนึ่งก็พร้อมจะทำงานเป็นจำนวนชั่วโมงที่มากขึ้น แต่เมื่ออัตราค่าแรงขึ้นถึงจุดที่สูงมากๆ คนงานอาจพบกับเลือกทำงานน้อยลงและใช้เวลาว่างมากขึ้น<ref>กราฟของแรงงานที่มีลักษณะโน้มกลับนี้อธิบายเพียงอุปทานส่วนบุคคลของคนงาน [http://vdo.kku.ac.th/mediacenter/mediacenter-uploads/libs/html/1273/les2_2_5.htm]</ref> การวกกลับของเส้นกราฟอุปทานยังปรากฏในตลาดอื่นด้วย เช่นในตลาดน้ำมัน ประเทศที่ส่งออกน้ำมันหลายประเทศลดการผลิตน้ำมันหลังจากราคาพุ่งสูงขึ้นในวิกฤตการณ์น้ำมันปี พ.ศ. 2520<ref>{{cite book|last=Samuelson|first=Paul A|coauthors=William D. Nordhaus|title=Economics|edition=17th edition|year=2001|publisher=McGraw-Hill|pages=157}} ISBN 0-07-231488-5 {{en icon}}</ref>
 
== ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และอุปทาน ==
โมเดลของอุปสงค์และอุปทาน อธิบายว่า ตลาดมีแนวโน้มที่จะเข้าสู่[[ดุลยภาพทาง!ศรษฐศาสตร์|ดุลยภา]]พ (equilibrium) ซึ่งปริมาณอุปสงค์และปริมาณอุปทานจะเท่ากัน เรียกราคาที่ภาวะดุลยภาพว่า ราคาดุลยภาพ และปริมาณสินค้าที่ภาวะนี้ว่า ปริมาณดุลยภาพ หากปริมาณอุปสงค์มากกว่าปริมาณอุปทาน ซึ่งเกิดเมื่อราคาสินค้าต่ำกว่าราคาดุลยภาพของสินค้านั้น จะเกิดการขาดแคลนสินค้า หรือเรียกว่ามีอุปสงค์ส่วนเกิน ในขณะที่เมื่อปริมาณอุปทานมากกว่าปริมาณอุปสงค์ คือเมื่อราคาสินค้าสูงกว่าราคาดุลยภาพ จะเกิดสินค้าล้นตลาด หรืออุปทานส่วนเกิน โดยเมื่อเกิดกรณีเหล่านี้ ผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดจะตอบสนองจนกระทั่งตลาดเข้าสู่ดุลยภาพต่อเนื่องกัน
 
ในการแสดงด้วยแผนภูมิ ดุลยภาพคือจุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน. อุปทานคือการที่จะทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นเรื่องที่ไม่ได้เป็นอย่างไรบ้าง
เส้น 23 ⟶ 22:
สิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งในหลักการของอุปสงค์และอุปทานได้แก่[[ความยืดหยุ่น (เศรษฐศาสตร์)|ความยืดหยุ่น]] (elasticity) ในทฤษฏีของอุปสงค์และอุปทาน ความยืดหยุ่นคือการวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานต่อปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์หรืออุปทาน การศึกษาความยืดหยุ่นที่มักนำมาพิจารณาคือความยืดหยุ่นต่อราคา ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์หรืออุปทานที่เกิดจากความเปลี่ยนแปลงของราคา
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีของผู้บริโภค]]
[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์จุลภาค]]
[[หม
[[หมวดหมู่:คำศัพท์เศรษฐศาสตร์]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
 
[[de:Marktgleichgewicht]]
[[lo:ດຸນຍະພາບທາງເສດຖະກິດ]]
[[lt:Rinkos pusiausvyra]]
[[nl:Marktwerking]]
[[pl:Równowaga rynkowa]]