ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาผี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anuwater (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anuwater (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขข้อมูลเพิ่มเติม
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Vientiane, baci ceremony (6172947454).jpg|thumb|พิธีบายศรีในกรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว]]
'''ศาสนาผี''' ({{lang-loเป็นศาสนาดั่งเดิมกลุ่ม[[ชาวไท|ສາສະໜາຜີ}})เครือไต]] เป็นศัพท์จำแนกใช้กับศาสนาชาติพันธุ์นี้มีลักษณะเป็น[[สรรพเทวนิยม]] และแบบลักษณ์[[พหุเทวนิยม]]-[[วิญญาณนิยม]] ซึ่งรวมบทบาท[[เชมัน|หมอผี]] อันมีพื้นฐานมาจากความความเชื่อความศรัทธาของชนชาติ[[ไท|ชาวไท]]ที่ประชากรเชื่อว่ามีผีหรือเทพสิงสถิตย์อยู่ทุกในทุกๆที่ ความเชื่อนี้กลุ่มชาติพันธุ์ลาวประมาณ 30.7% นับถือ <ref>[http://www.pewforum.org/files/2012/12/globalReligion-tables.pdf Pew Research Center's Global Religious Landscape 2010 - Religious Composition by Country].</ref><ref name="Yoshihisa2006">Yoshihisa Shirayama, Samlane Phompida, Chushi Kuroiwa, 2006. p. 622, quote: «[...] Approximately 60 to 65% of the population, most of whom are Lao Lum (people of the lowlands) follow Buddhism. About 30% of the population, on the other hand, hold an animist belief system called "Sadsana Phee" [...]».</ref><ref name="Sprenger">Guido Sprenger. ''Modern Animism: The Emergence of "Spirit Religion" in Laos''. Local Traditions and World Religions: The Appropriation of “Religion” in Southeast Asia and Beyond. 2014.</ref> และ[[ชาวไท]]กลุ่มอื่นๆที่มีประเพณีเดียวการนับถือทั่วไปตามแต่ละท้องถิ่น กลมกลืนไปกับศาสนาใหม่ที่เผยแพร่เข้ามาในดินแดนแถบประเทศไทย โดยมีประเพณีคล้ายคลึงกันระหว่าง[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|คนอีสาน]]และ[[คนไทย]]ในประเทศไทยปฏิบัติ ศาสนาเหล่านี้เป็น[[สรรพเทวนิยม]] และแบบลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์[[พหุเทวนิยม]]-[[วิญญาณนิยมชาวไท|ไท]]ในประเทศหลายประเทศในทางปฏิบัติ ซึ่งรวมบทบาทแต่ทั้งนี้การนับถือศาสนาผีหาได้ปรากฏเฉพาะ[[เชมันชาวไท]]ไม่ หมวดหมู่นี้รวมประเพณีพื้นบ้านลาวและไท-กะไดอื่น ชาวขมุและมอญ-เขมรอื่นอื่นๆ ตลอดจนศาสนากลุ่มชาติพันธุ์ม้ง-เมี่ยน ทิเบต-พม่า และกลุ่มชาติพันธุ์อื่นของลาวก็มีการนับถือผีในลักษณะใกล้เคียงกัน<ref name="Sprenger"/>
 
ผี (ຜີ) เป็น[[เทพารักษ์]]สิ่งปลูกสร้างหรือพื้นที่ของสถานที่ สิ่งหรือปรากฏการณ์ธรรมชาติ ผียังเป็นวิญญาณบรรพบุรุษและวิญญาณอื่นที่ปกปักษ์ผู้คน และยังมีวิญญาณมุ่งร้าย เทพารักษ์สถานที่ เช่น ผีวัด (ຜີວັດ) และหลักเมือง (ຫລັກເມືອງ) มีการเฉลิมฉลองด้วยการชุมนุมของชุมชนและการถวายอาหาร การแปลงเทพเจ้าฮินดูรวมอยู่ในรายการเทพเจ้าด้วย เทพเจ้ามิใช่ฮินดูพื้นเมืองเรียก ผีแถน (ຜີແຖນ)<ref>Poulsen, A. (2007). ''Childbirth and Tradition in Northeast Thailand. Copenhagen, Denmark: Nordic Institute of Asian Studies.</ref> ผีแถนพบทั่วไป บางตนเชื่อมโยงกับธาตุสากล คือ สวรรค์ ดิน ไฟและน้ำ
 
[[ชาวลาวไท]]ยังเชื่อวิญญาณสามสิบสองตนที่เรียก ขวัญ (ຂວັນ) ซึ่งปกปักษ์ร่างกาย และมีการประกอบพิธีกรรม[[บายศรี]] (ບາສີ) ระหว่างโอกาสสำคัญหรือเวลาที่มีความวิตกกังวลเพื่อผูกมัดวิญญาณกับร่างกาย และเชื่อว่าหากวิญญาณเหล่านี้ไม่อยู่กับตัวจะนำพาความเจ็บป่วยหรืออันตรายมา พิธีกรรมบายศรีเรียกขวัญทั้งสามสิบสองกลับมาเพื่อให้สุขภาพ ความมั่งคั่งและความเป็นอยู่ดีของผู้เข้ารับพิธี มีการผูกสายฝ้ายรอบเอวของผู้เข้าร่วมพิธีเพื่อรักษาวิญญาณให้อยู่กับที่ มักมีการดำเนินพิธีกรรมเพื่อต้อนรับแขก ก่อนและหลังการเดินทางยาว และเป็นพิธีกรรมรักษาหรือหลังฟื้นตัวจากความเจ็บป่วย นอกจากนี้ยังเป็นพิธีกรรมศูนย์กลางในการแต่งงาน[[ลาวลุ่ม]] และพิธีการตั้งชื่อเด็กแรกเกิด<ref name="Ireson">Ireson, W. Randall. "Animism in Laos". [http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/latoc.html ''A country study: Laos''] (Andrea Matles Savada, editor). [[Library of Congress]] [[Federal Research Division]] (July 1994). {{PD-notice}}</ref>
 
ในชีวิตประจำวัน คนส่วนมากเคารพผีที่สถิตอยู่ใน[[ศาลพระภูมิ|เรือนเจ้าที่]]และเรือนปู่ย่า (ศาลตาปู่) และเชื่อว่าปกป้องบริเวณใกล้เคียงจากอันตราย การถวายดอกไม้ธูปเทียน และมีการขอการคุ้มครองและความช่วยเหลือจากวิญญาณระหว่างการเปลี่ยนแปลงหรือช่วงยากลำบาก เทพเจ้าธรรมชาติมีเทพเจ้าที่สถิตอยู่ในต้นไม้ ภูเขาและป่า วิญญาณชั่วร้าย (ผีเผต) มีขวัญของคนชั่วในชาติก่อนหรือตายโหง เช่น ผีปอบ (ຜີປອບ) และผีดิบ (ຜີດິບ) เทพเจ้าที่สัมพันธ์กับบางงสถานที่เช่น ครัวเรือน แม่น้ำหรือป่ามิได้ดีหรือชั่วในตัวเอง และบางครั้งของถวายจะรับประกันการช่วยหลือเกื้อกูลในกิจการของมนุษย์<ref name="Ireson"/>
 
===ศาสนาผีในปัจจุบัน===