ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวหางเฮียกูตาเกะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ซี/1996 บี2'''หรือ '''ดาวหางเฮียะกุตะเกะ''' ({{lang-en|Comet Hyakutake}}, [[หลักการตั้งชื่อทางดาราศาสตร์|ชื่ออย่างเป็นทางการ]]ว่า C/1996 B2) เป็นดาวหาง ค้นพบเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2539<ref name="iauc6299">Comet was discovered on 1996 January 30.8 UT (local time: January 31), see [http://www.cbat.eps.harvard.edu/iauc/06200/06299.html IAU Circular No. 6299]</ref> ซึ่งผ่านใกล้โลกในเดือนมีนาคมปีนั้น ได้รับการขนานนามว่าเป็น '''[[ดาวหางใหญ่]]ปี 2539''' ซึ่งเป็นหนึ่งในดาวหางที่เข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 200 ปีที่ผ่านมา เฮียะกุตะเกะสว่างมากในท้องฟ้าราตรี และสามารถมองเห็นได้อย่างกว้างขวางทั่วโลก
 
การสังเกตดาวหางทางวิทยาศาสตร์นำไปสู่การค้นพบจำนวนมาก ที่น่าประหลาดใจที่สุดสำหรับนักวิทยาศาสตร์ดาวหาง คือ การค้นพบการปล่อยรังสีเอกซ์จากดาวหางเป็นครั้งแรก ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดจากอนุภาคลมสุริยะที่แตกตัวเป็นไอออนทำปฏิกิริยากับอะตอมที่เป็นกลางในโคมาของดาวหาง ยานอวกาศยูลิสซิสข้ามหางของดาวหางที่ระยะทางกว่า 500 ล้านกิโลเมตรจากนิวเคลียสอย่างไม่คาดฝัน แสดงให้เห็นว่าเฮียะกุตะเกะเป็นดาวหางที่มีหางยาวที่สุด
บรรทัด 9:
|title=Barycentric Osculating Orbital Elements for Comet Hyakutake (C/1996 B2)
|accessdate=2011-01-30}} ([http://ssd.jpl.nasa.gov/horizons.cgi?find_body=1&body_group=sb&sstr=C/1996+B2 Horizons])</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}