ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nonpawit (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมหน่วยงานภายในคณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 31:
 
 
== หน่วยงาน ==
== สาขาการส่งเสริมสุขภาพ ( Health Promotion ) ==
 
ตาม[http://council.swu.ac.th/Portals/2099/Documents/10.%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99.PDF?ver=2018-02-14-112841-160 ประกาศมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฉบับที่ 10/2559 เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในของส่วนงาน พ.ศ.2559] นั้น ได้มีการแบ่งหน่วยงานในคณะกายภาพบำบัดเป็น 5 หน่วยงาน ดังนี้
 
# สำนักงานคณบดี
# สาขากายภาพบำบัด
# สาขาการส่งเสริมสุขภาพ
# ศูนย์การวิจัยและการศึกษาต่อเนื่อง
# [http://healthsci.swu.ac.th/clinic คลินิกกายภาพบำบัด]
 
=== สาขาการส่งเสริมสุขภาพ ( Health Promotion ) ===
คณะสหเวชศาสตร์ เปิดหลักสูตร สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ เมื่อ พ.ศ. 2553 ทั้งนี้เพื่อรองรับหลักการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ ซึ่งบัณฑิตสาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ สามารถปฏิบัติงานด้านการจัดการระบบสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพในหน่วยงานหรือสถาบันที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีอนามัย สถาบัน/ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพจะเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญของงานสาธารณสุขเนื่องจากเป็นกระบวนการเพิ่มขีดความสามารถของประชาชน ในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพและพัฒนาสุขภาพของตนเอง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป ในส่วนของการศึกษาต่อ สามารถศึกษาต่อได้ในทุกหลักสูตรที่เปิดรับบัณฑิตจากสาขาวิทยาศาสตร์บัณฑิต ทั้งในและนอกประเทศ