ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสติปัฏฐานสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BallWarapol (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 95:
#'''นัยของมหาอรรถกถา''' ท่านมองว่าอารมณ์กรรมฐานในบรรพะไหนสามารถทำให้บรรลุโลกิยอัปปนาได้, บรรพะนั้นเหมาะกะสมถยานิก. นอกนั้นเหมาะกะวิปัสสนายานิก. อย่างไรก็ตาม มหาอรรถกถามองว่าอิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะใช้ประกอบกับบรรพะอื่นๆ ไม่ใช่อารมณ์ที่ต้องท่องจำเพื่อนำมาใช้ทำวิปัสสนากรรมฐานโดยตรง เพราะอริยาบถใหญ่น้อยเป็นอสัมมสนรูป (รูปที่ไม่เหมาะทำวิปัสสนา), แต่จัดว่าเหมาะกับวิปัสสนายานิกเพราะอสัมโมหสัมปชัญญะในสัมปชัญญบรรพะนั้นใช้ศัพท์ว่า ปชานาติ, ซึ่งเป็นศัพท์เดียวกับวิปัสสนาบรรพะส่วนใหญ่ มหาอรรถกถาจึงอธิบาย 2 บรรพะนี้ โดยใช้เนื้อหาในวิปัสสนาบรรพะอื่นมาทำ[[ฆนะ|ฆน]]วินิพโภคะ 2 บรรพะนี้เพื่อให้ได้นามรูปปรมัตถ์มาทำวิปัสสนา.
#'''นัยของพระมหาสิวเถระ''' ท่านมองสีวถิกบรรพะว่าเป็นอาทีนวานุปัสสนา จึงเหมาะกะวิปัสสนายานิก ส่วนมหาอรรถกถามองว่า สีวถิกาสามารถใช้ทำโลกิยอัปปนาได้ จึงเหมาะกับสมถยานิก ทั้งสองมติถูกต้องทั้งคู่ คือ มติของมหาอรรถกถา อาจารย์กรรมฐานจะใช้สำหรับเลือกบรรพะที่เหมาะสมกะลูกศิษย์ที่มีปัญญินทรีย์แก่กล้า สามารถข้ามลำดับสูตรได้, ส่วนมติของพระมหาสิวะ จะใช้เมื่อลูกศิษย์มีปัญญินทรีย์อ่อนหัด ต้องปฏิบัติไล่ลำดับตั้งแต่อานาปานบรรพะมา ดังนั้น เมื่อปัญญินทรีย์อ่อนหัดเริ่มแก่กล้าจากการทำทิฏฐิวิสุทธิด้วยธาตุมนสิการในปฏิกูลมาแล้วใน 2 บรรพะก่อน ก็ให้นำขึ้นสู่อาทีนวานุปัสสนาด้วยนวสีวถิกาตามนัยยะของพระมหาสิวะ. อนึ่ง พระมหาสิวะกล่าวว่า อิริยาบถและสัมปชัญญบรรพะสามารถเอามาท่องจำเพื่อใช้ทำวิปัสสนาได้ โดยการแยกบัญญัติจากปรมัตถ์ ตรงนี้ท่านกล่าวตามอรรถกถาสัมปชัญญบรรพะ หัวข้ออสัมโมหสัมปชัญญะ จึงไม่ได้ขัดแย้งกับมหาอรรถกถา แต่เป็นการอธิบายให้เห็นภาพว่าที่มหาอรรถกถากล่าวไว้ว่า "2 บรพพะนี้เหมาะสำหรับวิปัสสนายานิก"นั้น เป็นอย่างไรเท่านั้นเอง.
#'''นัยของเนตติปกรณ์'''
#[[s:เนตติ นยสมุฏฐาน#สีหวิกีฬิตนัย|สีหวิกีฬิตนัย]] จะลำดับข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกะอัธยาศัยของสีหะคือครูผู้สอน ในนยสมุฏฐานจึงแสดงองค์สภาวะธรรมข้อที่เท่ากันแม้ต่างหมวดไว้เท่ากัน.
##[[s:เนตติ นยสมุฏฐาน#%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%AC%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%A2|สีหวิกีฬิตยนัย]] จะมองว่า
#[[s:เนตติ_นยสมุฏฐาน#ติปุกขลนัย|ติปุกขลนัย]] จะลำดับข้อปฏิบัติให้สอดคล้องกะอัธยาศัยของสัตว์ที่จะออกจากวัฏฏะ ในนยสมุฏฐานจึงเป็นการนำสีหวิกกีฬตนัยมาลำดับใหม่ให้เหมาะกับรายบุคคลนั้นๆ ดังนั้น องค์สภาวธรรม คนละลำดับข้อกัน ถ้าต่างหมวดก็อาจมีองค์ธรรมไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอัธยาศัยของสัตว์คนนั้นๆ.
##ติปุกขลนัย จะมองว่า สิ่งที่มีอยู่แล้วไม่ต้องปฏิบัติให้ทำขั้นต่อไปได้เลย เช่น คนที่ได้โลกิยอัปปนาอยู่แล้วเป็นอุคฆฏิตัญญูไม่ต้องทำกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ให้ทำสมถะแล้วปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานได้เลย เป็นต้น หลักการนี้ก็ถูกต้อง แต่ในสถานการที่ต้องสอนกรรมฐานจริง แม้อุคฆฏิตัญญูบางท่านก็ยังต้องพึ่งกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เช่น โยคีอุคฆฏิตัญญูอาจไม่เคยทำโลกิยอัปปนามาก่อนในชาตินั้น เนตติปกรณ์ให้อุคฆฏิตัญญูเป็นสมถยานิก จึงต้องให้โยคีนี้ทำฌานก่อน เมื่อจะต้องสอนอารมณ์กรรมฐานในมหาสติปัฏฐานสูตรจึงต้องเลือกให้กายานุปัสสนาสติปัฏฐานที่เหมาะกะสมถยานิก เป็นต้น.
 
'''พระมหาสิวะกับมหาอรรถกถาไม่ได้ขัดแย้งกัน'''
คำอธิบายของมหาอรรถกถาในมหาสติปักฐานสูตรมีสองแบบ คือ แบบที่อธิบายด้วยสีหวิกกีฬิตนัย และแบบที่อธิบายด้วยติปุกขลนัย.
#'''มหาอรรถกถาแบบที่อธิบายด้วยสีหวิกกีฬิตนัย''' จะอยู่ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะ เพราะสติปัฏฐาน 4 จัดอยู่ในสีหวิกกีฬิตนัย มหาสติปัฏฐานสูตรจึงแสดงตามสีหวิกกีฬิตนัย, ฉะนั้น ในอรรถกถาของแต่ละบรรพะจึงต้องอธิบายองค์สภาวะธรรมของบรรพะตามลำดับสีหวิกกีฬิตนัย คือ แสดงลำดับครบถ้วนตั้งแต่การเชื่อมโยงกับบรรพะก่อน ไปจนวิธีการทำกรรมฐานจนถึงขยญาณ ตามลำดับในพระบาลีแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร, ไม่ใช่การจัดโปรแกรมเฉพาะบุคคลแบบติปุกคลนัย.
#'''มหาอรรถกถาแบบที่อธิบายด้วยติปุกขลนัย''' จะอยู่นอกอรรถกถาของบรรพะ เช่น
##ในมหาอรรถกถาใช้ติปุกขลนัยอธิบายวิธีเลือกกรรฐานไว้ตอนท้ายว่า "อิริยาบถบรรพะกับสัมปชัญญบรรพะไม่ใช่อารมณ์กรรมฐานที่อภินิเวสได้ (ไม่ต้องเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐาน)" แต่ก็แสดงว่า "บรรพะนี้เป็นอารมณ์สมถกรรมฐานหรืออารมณ์วิปัสสนากรรมฐาน" ซึ่งก็หมายถึงสมถยานิกบุคคลและวิปัสสนายานิกบุคคลในติปุกขลนัยนั่นเอง. ซึ่งผู้ที่อ่านผ่านๆ จะไม่เข้าใจและมองว่ามหาอรรถกถาขัดแย้งกันเอง พระมหาสิวเถระจึงต้องใช้สีหวิกกีฬิตนัยมาอธิบายติปุกขลนัยของมหาอรรถกถาว่า "อิริยาบถเมื่อทำฆนวินิพโภคะแล้ว ก็จะได้นามรูปมาเป็นอารมณ์แก่วิปัสสนายานิก ฉะนั้น มหาอรรถกถาแม้กล่าวว่าสองบรรพะนี้ไม่เป็นอารมณ์กรรมฐานด้วยติปุกขลนัยไว้ แต่ก็ในอรรถกถาของทั้งสองบรรพะนี้มหาอรรถกถาก็อธิบายไว้ด้วยสีหวิกกีฬิตนัย. เมื่อพระมหาสิวะอธิบายติปุกขลนัยให้เป็นสีหวิกีฬิตนัยอย่างนี้ ครูผู้สอนกรรมฐานก็จะเข้าใจมหาอรรถกถาตรงตามจุดประสงค์ว่า "เมื่อจะให้อารมณ์กรรมฐาน ไม่ควรเริ่มให้อิริยาบถบรรพะและสัมปชัญญะบรรพะตั้งแต่แรก เพราะเป็นอสัมมสนธรรม, แต่เมื่อชำนาญจตุธาตุววัตถานและนามบรรพะด้วยญาตปริญญาแล้ว แม้อิริยาบถกับสัมปชัญญะบรรพะ ก็เป็นอารมณ์กรรมฐานได้ด้วยการทำฆนวินิพโภคะ".
 
##ติปุกขลนัย จะมองว่า สิ่งที่มีอยู่แล้วไม่ต้องปฏิบัติให้ทำขั้นต่อไปได้เลย เช่น คนที่ได้โลกิยอัปปนาอยู่แล้วเป็นอุคฆฏิตัญญูไม่ต้องทำกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ให้ทำสมถะแล้วปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานได้เลย เป็นต้น หลักการนี้ก็ถูกต้อง แต่ในสถานการที่ต้องสอนกรรมฐานจริง แม้อุคฆฏิตัญญูบางท่านก็ยังต้องพึ่งกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เช่น โยคีอุคฆฏิตัญญูอาจไม่เคยทำโลกิยอัปปนามาก่อนในชาตินั้น เนตติปกรณ์ให้อุคฆฏิตัญญูเป็นสมถยานิก จึงต้องให้โยคีนี้ทำฌานก่อน เมื่อจะต้องสอนอารมณ์กรรมฐานในมหาสติปัฏฐานสูตรจึงต้องเลือกให้กายานุปัสสนาสติปัฏฐานที่เหมาะกะสมถยานิก เป็นต้น.
 
 
 
จะเห็นได้ว่าตามหลักเนตติปกรณ์แล้ว มติของมหาอรรถกถากับของพระมหาสิวะนั้นเพียงแค่อธิบายเชื่อมโยงซึ่งกันและกันเท่านั้น ไม่ได้ขัดแย้งกันเลย พระพุทธโฆสาจารย์จึงไม่แสดงการวินิจฉัยอย่างในที่อื่นๆ เพียงวางมติของมหาอรรถกถาไว้ก่อน แล้ววางมติของพระมหาสิวะต่อกัน เพื่ออธิบายมหาอรรถกถาอีกทีหนึ่ง เท่านั้น.