ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| close =
| owner = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
| operator = บริษัท [[รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.]] จำกัด<br>กิจการร่วมค้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด และพันธมิตร<br>{{เล็ก|โดย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด<br>บริษัท ช. การช่าง จำกัด (มหาชน) บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และ ไชน่า เรลเวยส์ คอนสตรัคชั่น คอร์ปอเรชัน}}<br>{{เทาเล็ก|(ผู้ชนะอย่างไม่เป็นทางการ)}}
| depot = ศูนย์ซ่อมบำรุงซอยศูนย์วิจัย สำนักบริหารโครงการรถไฟฟ้า การรถไฟแห่งประเทศไทย
| character =
บรรทัด 34:
}}
 
'''รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ''' ({{lang-en|Suvarnabhumi Airport Rail Link}}) หรือ '''แอร์พอร์ต เรล ลิงก์''' เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ เดิมอยู่ในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง]] ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล|โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง]] รัฐบาลได้นำโครงการนี้มาเป็นโครงการเร่งด่วนและแยกการก่อสร้างต่างหากจากระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ดำเนินการก่อสร้างโดย[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] (รฟท.) และได้เปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัท [[รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.]] จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม และเป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย <!--ก่อนเปลี่ยนผู้ดำเนินการเป็น กิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ โดย บริษัท บีทีเอสเจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง กรุ๊ปจำกัด และพันธมิตร ประกอบด้วย บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้งส์ลดิ้ง จำกัด บริษัท ช. การช่าง จำกัด (มหาชน) บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่นทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิงส์อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และ ไชน่า เรลเวยส์ คอนสตรัคชั่น คอร์ปอเรชัน จากประเทศจีน ใน พ.ศ. 2564--> ต่อมาได้มีการพิจารณารวมรถไฟฟ้าสายนี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ[[รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน]]
 
== ประวัติ ==