ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิษวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37:
1.1กลุ่มมอแกนโนคลอรีน (Organocholrine) สารพิษกลุ่มนี้มีความคงตัวสลายตัวได้ยาก บางชนิดมีพิษตกค้างเป็นสิบ ๆ ปี มีประสิทธิภาพในการกำจัดแมลง มีฤทธิ์กกประสาททำให้หน้ามืดวิงเวียนศีระษะและอาจทำให้หัวใจวายและตายได้ สารพิษจำพวกนี้ ได้แก่ ดีดีที ออลดริน ดิลดริน เอนดริน เฮปคาคลอร์ ลินแดน และอื่น ๆ<br />
 
1.2กลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต(Organophosphate) เป็นสารที่มีฟอสฟอรัส(P) เป็นองค์ประกอบสำคัญ สารพิษกลุ่มนี้สลายตัวได้ง่ายและมีพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมไม่นานนัก เฉลี่ยประมาณ 3-15 วัน จะมีพิษรุนแรง มีประสิทธิภาพในการกำจัดแมลงได้ดี สารพิษพวกนี้จะมีผลต่อระดับความดันโลหิตและระดับเอนไซม์โคลีนเอสสเตอเรส (Cholinesterase) ในเลือด หากๆด้รับสารเข้าไปจะวิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ เป็นตะคริว สารพิษจำพวกนี้ ได้แก่ คาร์บาริล, คาร์โบฟูเรน, ไบกอน และอื่นๆอื่น ๆ<br />
 
1.3กลุ่มไบรีรอย (Pyrethroids) เป็นสารพิษที่มีในธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ขึ้นของมนุษย์ สารพิษกลุ่มนี้ใช้ฆ่าแมลงได้ดี แต่มีทุนสูงเพราะทุนในการสังเคราะห์จะสูงกว่าการสกัดในธรรมชาติ สารพิษกลุ่มนี้มีการสลายตัวง่าย มีพิษต่อมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่นน้อย
บรรทัด 45:
-ตะกั่ว เป็นโลหะที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เช่น ใช้เป็นสารผสมในน้ำมันเชื้อเพลิง ทำโลหะเจือ สีทาเหล็ก กระสุนปืน ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ อุตสาหกรรมกรดซัลฟูริค เป็นต้น ตะกั่วสามารถปะปนอยู่ในอาหาร ในบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ได้ ตะกั่วมีพิษทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือดที่มีผลกระทบต่อประสาทและทำให้เกิดอันตรายต่อไต<br />
 
3.)สารระคายผิว เป็นสารที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังอักเสบได้ ได้แก่ พวกที่ดึงน้ำออก เมื่อถูกผิวหนังจะดึงจ้ำออกผิว เกิดความร้อนให้กรดที่กัดผิวหนัง เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ซัลเฟอร์ไทรออกไซด์, ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์, แคลเซียมออกไซด์, แคลเซียมคลอไรด์
-พวกที่ละลายไขมัน ได้แก่ ตัวทำละลายที่ใช้กันทั่ว ๆ ไป เช่น อะซีโตน , อีเทอร์, เอสเตอ, สารละลายด่าง ตัวทำละลายนี้จะละลายไขมันตามธรรมชาติและอาจละลายผิวชั้นนอกได้ด้วย
-พวกที่ทำปฏิกิริยากับน้ำ น้ำจะทำให้สารหลายชนิดแตกตัวให้อิออน เช่น น้ำกับฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ ให้คลอได์อิออนและกรดไฮไฮโปโครัส เป็นต้น
-พวกที่ตกตะกอนโปรตีน เช่น เกลือของโลหะต่าง ๆ, กรดแทนนิล, ฟอมาดีไฮด์, แอลกอฮอล์ และอื่น ๆ
-พวกรีดิวเซอร์ จะไปดึงออกซิเจนออกมาและส่งผลให้ผิวลอกหรือผิวชั้นนอดกหนาขึ้น เช่น ไฮโดควินโนน, ซัลไฟท์ เป็นต้น
-พวกออกซิไดเซอร์ ซึ่งจะรวมกับไฮโดรเจน ปล่อยออกซิเจนออกมา เช่น คลอรีน, เฟอร์รัคคลอไรด์, กรดโครมิล, สารเปอแมงกา-เนท เป็นต้น
-พวกทำให้เป็นมะเร็ง โดยไปกระตุ้นการเติบโตของชั้นผิวนอกและกลายเป็นเซลล์มะเร็ง<br />
 
4.)สารที่เป็นผงหรือฝุ่นซึ่งมีอนุภาคเล็ก ๆ เข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ ตัวอย่างเช่น ผงฝุ่นของแอสเบสเตอสทำให้เกิดโรคปอดแข็ง (Asbestosis) ผงฝุ่นของซิลิเกทเป็นอันตรายต่อปอด ผงฝุ่นของโลหะต่าง ๆ เช่น ตะกั่ว, ปรอท, แคดเมี่ยม และอื่น ๆ<br />
 
5.)สารที่ไอเป็นพิษ เป็นสารเคมีที่ให้ไอพิษ หากสูดดมเข้าไปทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย ได้แก่ ตัวทำละลายชนิดต่างๆต่าง ๆ เช่น เบนซิน, คาร์บอนไดซัลไฟต์, คาร์บอนเคดตะคลอไรด์, เมทธิบแอลกอฮอล์<br />
 
6.)ก๊าซพิษ มีหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมทจัมีก๊าซพิษบางชนิดที่อันตรายมาก โดยส่งผลให้ร่างกายขาดออกซิเจน ทำให้ร่างกายระคายเคือง เช่น พอสจีน, ไนโตรเจนออกไซด์, คาร์บอนมอนอกไซด์<br />
 
7.)สารเจือปนในอาหาร เป็นสารเคมีที่นำมาใส่เข้าไปในอาหารโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อป้องกันมิให้อาหารเสีย และเพื่อคงหรือเพิ่มคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของอาหาร ตลอดจนเพื่อให้อาหารนั้นมีกลิ่น รส สี ที่น่ารับประทานมากยิ่งขึ้น สารเคมีเหล่านี้ บางชนิดถ้าใส่ในปริมาณมากเกินไปก็จะก่อให้เกิดเป็นพิษเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ตัวอย่าง เช่น สารไนเตรทไนไตรท์ ผงชูรส โซเดียม เบนโซเอท เป็นต้น นอกจากนี้สารเคมีบางชนิดก็เป็นสารที่เป็นพิษมีอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ตัวอย่างเช่น สีย้อมผ้า กรดกำมะถัน บอแรกซ์ กรดซาลิโซลิก เป็นต้น<br />
 
8.)สารที่สังเคราะห์โดยสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ได้แก่ สารที่สังเคราะห์จากเชื้อรา แบคทีเรีย พืช และสัตว์บางชนิด ตัวอย่างของสารพิษที่เกิดจากเชื้อรา เช่น สารพิษ Aflatoxin เกิดจากเชื้อราพวก Aspergillus flavus ที่ขึ้นอยู่ในถั่วลิสง ข้าวโพดหรืออาหารแห้งอื่นๆอื่น ๆ หรือสารพิษ Botulinum toxin เกิดจากเชื้อแบททีเรีย Clostridium botulinum ที่ขึ้นในอาหารกระป๋องที่ผลิตไม่ได้มาตราฐานสารพิษ Trichothecene หรือ T-2 toxin เกิดจากเชื้อรา Fusarium tricinetum ที่ขึ้นในข้าวโพด เป็นต้น สำหรับพืชและสัตว์ที่สามารถสร้างสารพิษได้ เช่น เห็ดพิษ กลอย มันสำปะหลัง คางคก เหรา (สัตว์ทะเลชนิดหนึ่ง) ปลาปักเป้า เป็นต้น<br />
 
9.) สารกัมมันตภาพรังสี เป็นสารที่สามารถแผ่รังสีมาจากตัวเองได้ มนุษย์ได้มำมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆต่าง ๆ ที่สำคัญคือในด้านการแพทย์ และการผลิตไฟฟ้า สารกัมมันตภาพรังสีนับเป็นสารที่มีพิษต่อสิ่งมีชีวิตมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับสารพิษชนิดอื่นๆอื่น ๆ โดยจะทำอันตรายโดยตรง และถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้อีกด้วย กัมมันตภาพรังสีที่แผ่ออกมามี 3 ชนิด คือ รังสีอัลฟา รังสีเบต้า และรังสีแกมมา สารกัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติมีหลายตระกูล แต่ที่สำคัญที่สุด คือ ตระกูลยูเรเนียม และตระกูลทอเรียม ที่สำคัญรองลงมาคือ โปแตสเซียม -40 ยูบีเดียม – 87 สมาเรียม – 147 ลูซีเตียม – 176 และเรเดียม – 220 เป็นต้น
 
== การเข้าสู่ร่างกายของสารพิษ ==