ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอซากะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ชูโอะ" → "ชูโอ" ด้วยสจห.
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการทับศัพท์ญี่ปุ่น (บางส่วน)
บรรทัด 11:
| imagesize =
| image_alt =
| image_caption = [[อุอูเมดะสกาย]]<br>[[โดตมโบริ]] และ [[Tsūtenkaku|สึเต็งกากุ]]<br>[[วัดชิเต็นโน]], [[ศาลเจ้าซุมิโยะชิซูมิโยชิ]] และ [[ปราสาทโอซากะ]] ในตอนกลางคืน
| image_flag = Flag of Osaka City.svg
| flag_alt = Miotsukushi
บรรทัด 24:
| image_map = Osaka in Osaka Prefecture Ja.svg
| map_alt =
| map_caption = ที่ตั้งของโอซากะใน [[จังหวัดโอซากะ]]
| image_dot_map =
| dot_mapsize =
บรรทัด 62:
| leader_party =
| leader_title = นายกเทศมนตรี
| leader_name = โทะรุโทรุ ฮะฮาชิโมะโตะโมโตะ
| leader_title1 =
| leader_name1 = <!-- etc., up to leader_title4 / leader_name4 -->
บรรทัด 102:
| blank_name_sec1 = สัญลักษณ์
| blank1_name_sec1 = - ต้นไม้
| blank1_info_sec1blank1_info_sec1 = [[Sakuraซากูระ]]
| blank2_name_sec1 = - ดอกไม้
| blank2_info_sec1blank2_info_sec1 = [[Pansyแพนซี]]
| blank3_name_sec1 =
| blank3_info_sec1 =
บรรทัด 125:
}}
 
'''โอซากะ''' ({{ญี่ปุ่น|大阪|Ōsaka-shi}}) เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมี[[รายชื่อนครในประเทศญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร|ประชากรมากเป็นอันดับ 3]] ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนคร[[เคฮันชิง]] ตั้งอยู่ในภาค[[คันไซ]]บน[[เกาะฮนชู]] ในเขต[[จังหวัดโอซากะ]] เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็น[[นครอันตั้งขึ้นโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น|นครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น]]
 
นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปาก[[แม่น้ำโยโดะ]] [[อ่าวโอซากะ]] และ[[ทะเลเซโตะ]]
 
โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทาง[[ประวัติศาสตร์]] ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] มีสมญาว่า ''ครัวของชาติ'' ({{nhg2ญี่ปุ่น|天下の台所|เท็งกะTenka โนะno ไดโดะโกะโระDaidokoro}}) เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัย[[ยุคเอโดะ|สมัยเอโดะ]] และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงยุคโคฟุง ===
หลักฐานการตั้งถิ่นฐานในเขตโอซากะ คือ บริเวณแหล่งประวัติศาสตร์โมริโนะมิยะ (森の宮遺跡 Morinomiya iseki) มีการค้นพบสุสานหอยนางรมและโครงกระดูกมนุษย์ในสมัย 500-600 ปีก่อนคริสตกาล เชื่อกันว่า บริเวณที่ชื่ออุเอะฮงอูเอฮมมิยะในทุกวันนี้น่าจะเป็นคาบสมุทรและมีทะเลในแผ่นดินทางตะวันออก
ในสมัย[[ยุคยาโยอิ|สมัยยาโยอิ]] มีการค้นพบการตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นครั้งแรก ในบริเวณที่ราบของโอซากะ โดยยึดการปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก
 
ใน[[ยุคโคฟุง]] โอซากะได้รับการพัฒนาเป็นท่าเรือเชื่อมต่อดินแดนทางตะวันตกของญี่ปุ่น มีการค้นพบสุสานที่บริเวณพื้นที่ราบของโอซากะจำนวนมาก เป็นหลักฐานของความมั่นคงทางการเมือง นำไปสู่การสร้างประเทศในเวลาต่อมา<ref name="books.google.com">{{cite book|title=Tsuneko S. Sadao, Stephanie Wada, Discovering the Arts of Japan: A Historical Overview|url=http://books.google.com/?id=zMC4RMXQkn0C&pg=RA2-PA30&lpg=RA2-PA30&dq=osaka+kofun+period|accessdate = 2007-03-25|isbn=978-4-7700-2939-3|author1=Wada, Stephanie|year=2003}}</ref>
 
=== ยุคอาซูกะและยุคนาระ ===
ในปี พ.ศ. 1188 [[จักรพรรดิโคโตะกุโตกุ]]ได้สร้างพระราชวังชื่อ '''นานิวะ นะงะระนางาระ-โทะโยะซะงิโทโยซางิ''' ขึ้นที่โอซากะ<ref name="osaka-cpa.or.jp">{{cite web|title=史跡 難波宮跡, 財団法人 大阪都市協会 (Naniwa Palace Site, by Osaka Toshi Kyokai)|language=Japanese|url=http://www.osaka-cpa.or.jp/html/bunka/rekisi/naniwa1.html|accessdate = 2007-03-25}}</ref> และได้เนรมิตให้พื้นที่แห่งนี้เป็นเมืองหลวง (กรุงนานิวะ) พื้นที่แห่งนี้ได้กลายเป็นเมืองใหม่ในสมัยนั้นและมีชื่อว่า '''นานิวะ''' และชื่อนี้ก็ยังมีการใช้กันในปัจจุบัน เป็นการเรียกชื่อใจกลางของโอซากะว่า นานิวะ (浪速) และกร่อนมาเป็น นัมบะ (難波) ในทุกวันนี้
แม้จะมีการย้ายเมืองหลวงไปที่อาซูกะ (ใน[[จังหวัดนาระ]]ในปัจจุบัน) ในปี พ.ศ. 1198 นานิวะก็ยังเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อทั้งทางบกและทางทะเลระหว่างยามะยามาโตะ ([[จังหวัดนาระ]]) [[เกาหลี]] และ [[จีน]]<ref name="edited by Peter G. Stone and Philippe G. Planel 1999 68">{{cite book |author=edited by Peter G. Stone and Philippe G. Planel |title=The constructed past: experimental archaeology, education, and the public |publisher=Routledge in association with English Heritage |location=London |year=1999 |page=68 |isbn=0-415-11768-2 |oclc= |doi=}}</ref>
 
ในปี พ.ศ. 1287 นานิวะได้กลายมาเป็นเมืองหลวงอีกครั้งหนึ่งตามคำสั่งของจักรพรรดิโชมุ แต่ได้เป็นเมืองหลวงถึงปี พ.ศ. 1288 ราชสำนักก็ย้ายกลับไปที่เฮโจ (ปัจจุบันคือ [[นาระ]]) อีกครั้ง ในปลายยุคนาระ ท่าเรือจึงค่อยๆค่อย ๆ กลายเป็นที่พักอาศัยของชาวเดินเรือ แต่ยังคงมีความคึกคักตามบริเวณแม่น้ำ คลอง และเส้นทางการคมนาคมทางบกไปยังกรุงเฮอัง (ปัจจุบันคือ [[เกียวโต]]) และเมืองอื่น ๆ
 
=== ยุคเฮอังถึงยุคเอโดะ ===
ในปี พ.ศ. 2039 มีการก่อตั้ง[[ศาสนาพุทธ]] นิกายโจโดะชินชูโจโดชินชู โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่อิชิยามะฮงกันจิ บนพื้นที่ส่วนหนึ่งของพระราชวังนานิวะ [[ไดเมียว]][[โอดะ โนบูนางะ]] หนึ่งในสามผู้รวมประเทศญี่ปุ่นเริ่มโอบล้อมวัดในปี พ.ศ. 2113 หลังจากอีกสิบปี พระในวัดก็ยอมจำนน และวัดก็ถูกทำลายลงอย่างราบคาบ ไดเมียว[[โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ]] จึงได้สร้าง[[ปราสาทโอซากะ]]ขึ้นแทนในที่แห่งนั้น
 
โอซากะเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญของญี่ปุ่นมาอย่างยาวนาน<ref name="Osaka city">[http://www.city.osaka.lg.jp/contents/wdu020/english/for_tourists/c_historical_overview.html Osaka city]{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2553}}</ref> มีประชากรที่เป็นชนชั้นพ่อค้าในสัดส่วนที่สูง โดยใน[[ยุคเอโดะ]] (พ.ศ. 2146 - พ.ศ. 2410) โอซากะเติบโตไปเป็นเมืองใหญ่ของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นเมืองท่าที่คึกคักอีกครั้ง วัฒนธรรมของโอซากะมีความเกี่ยวข้องกับ[[ภาพอุอูกิโยะ]] อันเป็นภาพวาดที่มีชื่อเสียงใน[[ยุคเอโดะ]] โดยในปี พ.ศ. 2323 โอซากะเป็นแหล่งวัฒนธรรม มีชื่อเสียงด้านการแสดงของโรงละคร[[คะบุกิคาบูกิ]]และละครหุ่น[[บุนระกุนรากุ]]
 
ในปี พ.ศ. 2380 โอชิโอะ เฮฮะชิเฮฮาจิโร ซามูไรชั้นผู้น้อย ได้นำกลุ่มชาวนาก่อการกบฏขึ้นเพื่อประท้วงผู้ปกครองเมืองที่เฉยเมยต่อคนจนและครอบครัวที่ตกต่ำในพื้นที่เหล่านี้ พื้นที่เมืองเกือบ 1 ใน 4 ถูกเผาทำลายจากการกบฏในครั้งนั้น ก่อนที่เจ้าหน้าที่จากโชกุนจะปราบกบฏลงได้ และโอชิโอะก็ตัดสินใจปลิดชีพตัวเองในเวลาต่อมา
 
รัฐบาล[[โชกุน]]เปิดให้โอซากะเป็นเมืองที่เปิดรับการค้ากับต่างประเทศเช่นเดียวกับ[[เฮียวโงะ]] (ปัจจุบันคือ [[โคเบะ]]) ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2411 ก่อน[[การฟื้นฟูเมจิ]]เพียงเล็กน้อย
 
=== โอซากะยุคใหม่ ===
[[ไฟล์:Sennichimae Osaka ca1916.JPG|thumb|บริเวณเซนนิชิมะเอะ ในปี พ.ศ. 2459]]
กฤษฎีการัฐบาลได้ก่อตั้งโอซากะให้เป็นเมืองที่มีการปกครองพิเศษ ในฐานะ[[เมืองอันตั้งขึ้นโดยข้อบังคับ]] ในปี พ.ศ. 2432<ref name="osaka-info.jp">{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/about/historical.html |title=Osaka city |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2010-05-05}}</ref> มีพื้นที่เริ่มต้น 15 ตารางกิโลเมตร คือบริเวณ[[แขวงชูโอ (โอซากะ)|แขวงชูโอ]]และ[[แขวงนิชิ (โอซากะ)|แขวงนิชิ]]ในปัจจุบัน ต่อมา เมืองได้ขยายตัวจนมีพื้นที่ 222 ตารางกิโลเมตรอย่างในปัจจุบัน โอซากะเป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมอย่างชัดเจนในช่วงการพัฒนาเศรษฐกิจตามระบบทุนนิยมของญี่ปุ่น การเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ทำให้[[ชาวเกาหลี]]หลายคนอพยพเข้ามาตั้งตัว ระบอบการปกครองจึงเป็นแบบผสมโดยให้ความสำคัญด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมและการพัฒนาเมืองไปสู่ความเจริญ อัตราการรู้หนังสือเพิ่มขึ้น และระบบการศึกษาขยายตัวอย่างรวดเร็ว เกิดเป็นกลุ่มชนชั้นกลางที่รู้หนังสือและมีความชื่นชอบในงานศิลปะ
 
แต่ในอีกมุมหนึ่งของการเจริญเติบโต โอซากะก็มีสลัม คนว่างงาน และคนจน เช่นเดียวกับในยุโรปและอเมริกา เทศบาลนครโอซากะจึงจัดตั้งระบบจ่ายเงินช่วยเหลือเพื่อเยียวยาคนจนขึ้น โดยใช้แบบฉบับมาจากอังกฤษ ผู้ร่างนโยบายของโอซากะได้ให้ความสำคัญกับการสร้างครอบครัวและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการต่อสู้กับความยากจน ซึ่งเป็นวิธีการที่จะช่วยลดงบประมาณของนโยบายเปลี่ยนแปลงเมืองไปสู่ความร่ำรวย <ref name="Kingo Tamai 1926">Kingo Tamai, "Images of the Poor in an Official Survey of Osaka, 1923-1926." ''Continuity and Change'' 2000 15(1): 99-116. Issn: 0268-4160 Fulltext: [[Cambridge UP]]</ref>
บรรทัด 162:
 
== ที่มาของชื่อ ==
"โอซากะ" หมายถึง เนินเขาใหญ่ ในสมัยก่อน โอซากะเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ''นานิวะ'' และไม่มีใครทราบแน่ชัดว่าเปลี่ยนเป็นโอซากะตั้งแต่เมื่อใด แต่มีหลักฐานพบการเรียกชื่อเมืองว่าโอซากะจากข้อความที่ปรากฏในหนังสือ ปี [[ค.ศ. 1496]] ในสมัยก่อน โอซากะ เขียนเป็นคันจิว่า 大坂 แต่คันจิตัวหลังมักอ่านผิดเป็น 士反 ซึ่งมีความหมายว่า ''กบฏซามูไร'' เป็นความหมายที่ไม่ค่อยจะดีนัก ในสมัย[[ปฏิรูปเมจิ]] ปี ค.ศ. 1870 จึงได้มีการเปลี่ยนคันจิของโอซากะใหม่เป็น 大阪 และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน และคันจิตัวหลัง คือ 阪 (อ่านออกเสียงแบบ[[อนโยมิองโยมิ]]ว่า ''ฮัน'') ก็ใช้กันอย่างกว้างขวางว่ามีความหมายถึง[[นครโอซากะ]] และ[[จังหวัดโอซากะ]]เท่านั้น
 
== สภาพทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ ==
บรรทัด 312:
 
== ทิวทัศน์ของเมือง ==
{{wide image|Osaka skyline at night from Umeda Sky Building.jpg|1200px|ภาพทิวทัศน์ของโอซากะ เมื่อมองจากตึก[[อุเมะอูเมดะสกาย]]}}
 
{{Panorama
บรรทัด 318:
|fullwidth = 1000
|fullheight = 200
|caption = ภาพโอซากะตอนใต้ จากโรงแรมริตซ์ชาร์ลตันในย่าน[[อุเมะอูเมดะ]]
|height = 180
}}
 
=== ใจกลางเมือง ===
ใจกลางของโอซากะแบ่งคร่าว ๆ ออกเป็น 2 ส่วนคือ คิตะ (北 แปลว่า เหนือ) กับ มินามิ (南 แปลว่า ใต้) และทั้งสองส่วนนี้เชื่อมต่อกันด้วยเส้นทาง[[มิโดซึจิมิดตสึจิ]]
 
บริเวณคิตะล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ธุรกิจและค้าปลีกในย่าน[[อุเมะอูเมดะ]] ส่วนบริเวณมินามิหมายรวมถึงย่านช็อปปิ้งอย่าง[[นัมบะ]] [[ชินไซบาชิ]] และ[[โดตมโบริ]] มีแหล่งบันเทิงตั้งอยู่มากมายที่สะพานโดตมโบริ รวมทั้งสัญลักษณ์ปูยักษ์ที่มีชื่อเสียง ป้ายไฟกุกูลิโกะ สวนสามเหลี่ยม และหมู่บ้านอเมริกา ส่วนบริเวณระหว่างคิตะกับมินามิก็มีโยโดะยะโดยาบาชิและฮมมาชิจิที่เป็นแหล่งธุรกิจดั้งเดิม มีสถานที่ราชการ สำนักงานของธนาคารใหญ่ๆ ตั้งอยู่มากมาย ส่วนบริเวณพื้นที่ธุรกิจแห่งใหม่ของโอซากะจะอยู่ที่บริเวณ'''อุทยานธุรกิจโอซากะ'''ใกล้กับปราสาทโอซากะ นอกจากนี้ ยังมีย่านธุรกิจสำคัญอื่นๆตั้งอยู่ที่บริเวณสถานีเทนเท็นโนจิและสถานีเคียวบาชิ
 
'''808 สะพานแห่งนานิวะ''' คือคำกล่าวแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของโอซากะในยุคโบราณ โดยตัวเลข 808 นี้เป็นสัญลักษณ์ของแนวคิดที่ว่า"นับไม่ได้"แม้ในสมัย[[ยุคเอโดะ|เอโดะ]] โอซากะจะมีสะพานเพียงแค่ประมาณ 200 แห่งก็ตาม และเนื่องจากโอซากะเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยแม่น้ำ คลอง สะพานแต่ละแห่งจึงมีชื่อ และบริเวณเหล่านั้นก็มักเรียกตามชื่อของสะพานไปด้วย แม้ว่าคลองบางแห่งจากถูกถม แต่ก็ยังมีอีกหลายแห่งที่ยังหลงเหลืออยู่ ในปี พ.ศ. 2468 โอซากะมีสะพานอยู่ประมาณ 1629 แห่ง บางคลองบางแห่งก็ถูกถมไปจนเหลือสะพานเพียงแค่ 872 แห่ง โดยในจำนวนนี้ อยู่ในความรับผิดชอบดูแลของนครโอซากะ 760 แห่ง<ref name="Eiichi Watanabe, Dan M. Frangopol, Tomoaki Utsunomiya 2004 195">{{cite book |author=Eiichi Watanabe, [[Dan M. Frangopol]], Tomoaki Utsunomiya |title=Bridge Maintenance, Safety, Management and Cost: Proceedings of the 2nd International Conference on Bridge Maintenance, Safety and Management |publisher=Taylor & Francis
บรรทัด 331:
 
== ประชากร ==
จากการสำมะโนประชากรในปี พ.ศ. 2548 โอซากะมีผู้อยู่อาศัย 2,628,811 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 จำนวน 30,037 คน คิดเป็นร้อยละ 1.2<ref name='C2005'>{{cite web|url=http://www.e-stat.go.jp/SG1/estat/NewListE.do?tid=000001007251 |title=2005 Population Census |accessdate=2009-02-18 |publisher=Statistics Bureau, Director-General for Policy Planning (Statistical Standards) and Statistical Research and Training Institute, Japan }}</ref> แบ่งเป็น 1,280,325 ครัวเรือน หรือประมาณครัวเรือนละ 2.1 คน ความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 11,836 คนต่อตารางกิโมตร โดยเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466]] ทำให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นอพยพมาอยู่โอซากะจำนวนมากในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2463-2473 จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2473 เมืองมีประชากร 2,453,573 คน กลายเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นแซงหน้าโตเกียวที่มีประชากร 2,070,913 คนในขณะนั้น และในปี พ.ศ. 2483 โอซากะมีประชากรสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ที่ 3,252,340 คน ส่วนช่วงหลังสงคราม นครโอซากะมีประชากรสูงสุดที่ 3,156,222 คน ในปี พ.ศ. 2508 และค่อย ๆ ลดลงไปเนื่องจากประชาชนเริ่มทะยอยทยอยย้ายออกไปอยู่ตามเขตชานเมือง<ref name='TJC'>{{cite book | last = Prasad Karan | first = Pradyumna | authorlink = | coauthors = Kristin Eileen Stapleton | title = The Japanese City | publisher = University Press of Kentucky | date = | location = | pages = 79–81 | url = http://books.google.com/?id=eKdMdyZzjyQC | doi = | id = | isbn = 0-8131-2035-7 | year = 1997 }}</ref>
 
ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในนครโอซากะมีจำนวนที่ลงทะเบียนไว้ 99,775.5 คน โดยมีกลุ่มใหญ่คือ เกาหลี 71,015 คน และจีน 11,848 คน
บรรทัด 345:
!| ชื่อแขวง || [[คันจิ]] || พื้นที่ (ตร.กม)
|-
| [[แขวงอาเบโนะคิตะ (โอซากะ)|อาเบโนะคิตะ]] || 阿倍野 || 510.9933
|-
| [[แขวงอาซาฮิโคโนฮานะ|อาซาฮิโคโนฮานะ]] || 此花 || 616.3004
|-
| [[แขวงโจโต|โจโต]] || 城東 || 8.42
|-
| [[แขวงชูโอ (โอซากะ)|ชูโอ]] || 中央 || 8.87
|-
| [[แขวงฟูกูชิมะซูมิโนเอะ|ฟูกูชิมะซูมิโนเอะ]] || 福島住之江 || 420.6777
|-
| [[แขวงฮิงาซูมิโยชินาริ|ฮิงาซูมิโยชินาริ]] || 東成住吉 || 49.5534
|-
| [[แขวงฮิงาชิซูมิโยชิเท็นโนจิ|ฮิงาชิซูมิโยชิเท็นโนจิ]] || 東住吉天王寺 || 94.7580
|-
| [[แขวงฮิงาชิโยโดงาวะไทโช|ฮิงาชิโยโดงาวะไทโช]] || 東淀川大正 || 139.2643
|-
| [[แขวงฮิราโนะนานิวะ|ฮิราโนะนานิวะ]] || 平野浪速 || 154.3037
|-
| [[แขวงอิกูโนะนิชิ (โอซากะ)|อิกูโนะนิชิ]] || 生野西 || 85.3820
|-
| [[แขวงโจโตนิชินาริ|โจโตนิชินาริ]] || 城東西成 || 87.4235
|-
| [[แขวงคิตะ (โอซากะ)นิชิโยโดงาวะ|คิตะนิชิโยโดงาวะ]] || 西淀川 || 1014.3323
|-
| [[แขวงโคโนฮานะฟูกูชิมะ|โคโนฮานะฟูกูชิมะ]] || 此花福島 || 164.0467
|-
| [[แขวงมินาโตะ (โอซากะ)|มินาโตะ]] || 港 || 7.90
เส้น 373 ⟶ 375:
| [[แขวงมิยาโกะจิมะ|มิยาโกะจิมะ]] || 都島 || 6.05
|-
| [[แขวงนานิโยโดงาวะ|นานิโยโดงาวะ]] || 浪速淀川 || 412.3764
|-
| [[แขวงนิชิสึรูมิ (โอซากะ)|นิชิสึรูมิ]] || 西鶴見 || 58.2016
|-
| [[แขวงนิชินาริอาซาฮิ|นิชินาริอาซาฮิ]] || 西成 || 76.3530
|-
| [[แขวงนิชิโยโดงาวะอาเบโนะ|นิชิโยโดงาวะอาเบโนะ]] || 西淀川阿倍野 || 145.2399
|-
| [[แขวงซูมิโนเอะอิกูโนะ|ซูมิโนเอะอิกูโนะ]] || 住之江生野 || 208.7738
|-
| [[แขวงฮิงาชิซูมิโยชิ|ฮิงาชิซูมิโยชิ]] || 住吉 || 9.3475
|-
| [[แขวงไทโชฮิงาชินาริ|ไทโชฮิงาชินาริ]] || 大正東成 || 94.4355
|-
| [[แขวงเท็นโนจิฮิงาชิโยโดงาวะ|เท็นโนจิฮิงาชิโยโดงาวะ]] || 天王寺東淀川 || 413.8026
|-
| [[แขวงสึรูมิ (โอซากะ)ฮิราโนะ|สึรูมิฮิราโนะ]] || 鶴見平野 || 815.1630
|-
| [[แขวงโยโดงาวะ|โยโดงาวะ]] || 淀川 || 12.64
|}
 
บรรทัด 401:
[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]]ในส่วนของโอซากะและโคเบะอยู่ที่ 341 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นเมืองปากแม่น้ำที่มีผลผลิตมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเช่นเดียวกับปารีสและลอนดอน<ref name="pwc.com">[http://www.pwc.com/uk/eng/ins-sol/publ/ukoutlook/pwc_ukeo-section3-march07.pdf ]{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2553}}</ref>
 
ตามประวัติศาสตร์แล้ว โอซากะเป็นศูนย์กลางการค้าของญี่ปุ่นมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเฉพาะในยุคกลางและก่อนยุคใหม่ โดยในปี พ.ศ. 2468 มีการก่อตั้งบริษัทหลักทรัพย์โนมูระ อันเป็นบริษัทโบรกเกอร์หุ้นบริษัทแรกของญี่ปุ่น จนกระทั่งปัจจุบัน โอซากะก็ยังเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนฟิวเจอร์สที่สำคัญของโลก แม้จะมมีบริษัทหลายแห่งได้ย้ายสำนักงานหลักไปอยู่ที่[[โตเกียว]] แต่ก็มีบริษัทใหญ่หลายแห่งที่สำนักงานใหญ่ยังตั้งอยู่ที่โอซากะ เช่น [[พานาโซนิค]] [[ชาร์ป]] และ[[ซันโย]] และเมื่อเร็วๆนี้ นายกเทศมนตรีจุนิชิจุนอิจิ เซะกิเซกิ ได้เริ่มโครงการดึงดูดการลงทุนทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ<ref name="yomiuri.co.jp">[http://www.yomiuri.co.jp/dy/business/20061228TDY16003.htm ]{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2553}}</ref>
 
ศูนย์แลกเปลี่ยนหลักทรัพย์โอซากะ ตั้งอยู่ที่นครโอซากะ เน้นความสำคัญด้านการแลกเปลี่ยนอนุพันธ์ เช่น ฟิวเจอร์สนิกเกอิ 225 นอกจากนี้ การควบรวมกับ JASDAQ ก็ช่วยให้การแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ของโอซากะกลายเป็นแหล่งก่อตั้งบริษัทแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น<ref name="経営に資する統合的内部監査">{{cite web|author=経営に資する統合的内部監査 |url=http://www.j-cast.com/2008/06/11021633.html |title=大証との経営統合、ようやく決着 ジャスダック : J-CASTニュース |publisher=J-cast.com |date= |accessdate=2010-05-05}}</ref>
บรรทัด 412:
โอซากะ มีท่าอากาศยานที่สำคัญสองแห่งคือ
* [[ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ]] (KIX) เป็นท่าอากาศยานสำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศ และเที่ยวบินในประเทศบางเที่ยวบิน เป็นแหล่งของการขนส่งสินค้า ท่าอากาศยานแห่งนี้สร้างขึ้นจากการถมทะเลในบริเวณ[[อ่าวโอซากะ]] มีรถประจำทางและรถไฟให้บริเวณรับส่งระหว่างเมืองและชานเมืองที่สำคัญ
* [[ท่าอากาศยานนานาชาติโอซากะ]] (ITM) ตั้งอยู่ที่บริเวณรอยต่อของเมือง[[อิตะมิอิตามิ]]และเมือง[[โทะโยะนะกะโทโยนากะ]] เป็นท่าอากาศยานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ และการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศบางเส้นทาง รวมทั้งเป็นท่าอากาศยานสำหรับรับรองแขกพิเศษจากต่างประเทศ
 
=== การคมนาคมทางทะเล ===
บรรทัด 418:
 
=== เรือโดยสาร ===
ท่าเรือโดยสารนานาชาติโอซากะจะเชื่อมต่อในวงที่ไกลกว่าท่าเรือของโตเกียวเนื่องจากมีข้อได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ เรือโดยสารระหว่างประเทศที่ออกจากโอซากะจะเดินทางไป [[เซี่ยงไฮ้]] [[เทียนจิน]] [[เกาหลี]] และ[[ไต้หวัน]] ส่วนเรือโดยสารในประเทศจะเชื่อมต่อกับ[[คิตะคีวชูคิตะกีวชู]] [[คะโงะชิมะคาโงชิมะ]] [[มิยะซะยาซากิ]] และ [[โอะกินะวะโอกินาวะ]]
 
=== การขนส่งทางเรือ ===
บรรทัด 424:
 
=== ท่าเรือพี่น้อง ===
*{{flagicon|USA}} [[ซานฟรานซิสโก]], สหรัฐอเมริกา (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967)
*{{flagicon|AUS}} [[เมลเบิร์น]] ประเทศออสเตรเลีย (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1974)
*{{flagicon|FRA}} [[เลออาฟวร์]] ประเทศฝรั่งเศส (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980)
บรรทัด 434:
 
===การขนส่งทางราง===
แถบนครโอซากะมีการเชื่อมต่อทางระบบรางที่หนาแน่น โดยมีสถานีหลักอยู่ที่ [[อุอูเมดะ]] [[นัมบะ]] [[เท็นโนจิ]] [[เคียวบาชิ]] และ [[โยโดยะบาชิ]]
 
===รถไฟความเร็วสูง===
บริษัทเจอาร์เซนทรัลและเจอาร์เวสต์ ให้บริการรถไฟความเร็วสูง[[ซันโยชิงกันเซ็ง]]และ[[โทไกโดชิงกันเซ็ง]] โดยมีสถานีชินโอซากะเป็นสถานีรถไฟ[[ชิงกันเซ็ง]]ในโอซากะ สถานีเชื่อมต่อกับ[[สถานีโอซากะ]]ใน[[อุเมะอูเมดะ]]โดยรถไฟเจอาร์ รถไฟ[[ชิงกันเซ็ง]]ทุกขบวนจะหยุดที่สถานีชินโอซากะแห่งนี้
 
===รถไฟสัญจร===
บริษัทเจอาร์เวสต์แและบริษัทรถไฟเอกชนให้บริการรถไฟเชื่อมต่อระหว่างโอซะกับเขตชานเมือง โดยรถไฟของเจอาร์เวสต์จะให้บริการในชื่อรถไฟเครือข่ายมหานคร โดยมีสถานีใหญ่อยู่ตามเส้นทางรถไฟวงกลมของโอซากะ นอกจากนี้ ยังมีบริษัทรถไฟเอกชนอย่าง [[รถไฟฟ้าเคฮัน]] [[รถไฟฮันกีว]] [[รถไฟฟ้าฮันชิง]] [[รถไฟคินเต็ตสึ]] และรถไฟฟ้านันไกนังไก ร่วมให้บริการรับส่งผู้โดยสารในเขตเกียวโต โคเบะ โอซากะ นาระ โยะชิโนะโยชิโนะ อิเสะอิเซะ และนะโงะยะนาโงยะ รวมถึงวะกะวากายามะ และท่าอากาศยานนาชาชาติคันไซอีกด้วย
 
===รถไฟใต้ดิน===
บรรทัด 452:
 
===แหล่งซื้อสินค้าและอาหาร===
โอซากะเป็นแหล่งค้าส่งและค้าปลีกขนาดใหญ่ มีร้านค้าส่ง 25,228 ร้านและร้านค้าปลีก 34,707 ร้านในปี พ.ศ. 2547<ref name="ReferenceB">http://www.city.osaka.jp/keikakuchousei/toukei/G000/Gyh17/Ga00/Ga00.html</ref> ร้านค้าส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในแขวงชูโอ (10,468 ร้าน) และเขตคิตะ (6,335 ร้าน) มีร้านค้าหลายรูปแบบตั้งแต่'''โชเตงไกโชเต็งไก(商店街)'''แบบดั้งเดิมไปจนถึงห้างสรรพสินค้าบนดินและใต้ดิน '''โชเตงไกโชเต็งไก'''เป็นรูปแบบของร้านแบบดั้งเดิมที่พบได้ทั่วญี่ปุ่น และโอซากะมีโชเตงโชเต็งไกที่ยาวที่สุดในโลกอยู่ที่ ''เทนจินบาชิเท็นจิมบาชิ'' ความยาว 2.6 กิโลเมตร ขายสินค้าหลากหลายตั้งแต่ของใช้ภายในบ้าน เสื้อผ้า ตลอดจนอาหารเลี้ยงสัตว์
 
พื้นที่สินค้าอีกแห่งหนึ่งที่สำคัญคือ เดนเดนทาวน์ เป็นแหล่งรวมสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และการ์ตูน/อนิเมะที่สำคัญของโอซากะ คล้ายกับย่าน[[อะกิฮะบะระอากิฮาบาระ]]ของ[[โตเกียว]] ส่วนย่าน[[อุเมะอูเมดะ]]เป็นแหล่งรวมห้างสรรพสินค้าและห้างโยโดะโดบาชิคาเมร่า อันเป็นห้างสรรพสินค้าด้านอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าชื่อดังของญี่ปุ่น
 
โอซากะ ขึ้นชื่อในเรื่องของ'''เมืองอาหาร''' ทั้งอาหารญี่ปุ่นและจากนานชาติ โดยนักเขียนอย่างไมเคิล บูธ และฟรองซัวส์ ไซมอน นักวิจารณ์อาหารชื่อดังของหนังสือพิมพ์เลอฟิกาโร บอกว่า โอซากะเป็นเมืองหลวงด้านอาหารของโลก<ref name="Booth">{{cite news| url=http://www.guardian.co.uk/lifeandstyle/wordofmouth/2009/jul/13/osaka-japan-best-food-city | work=The Guardian | first=Michael | last=Booth | title=Osaka - the world's greatest food city | date=2009-07-13}}</ref> ผู้ที่ชื่นชอบอาหารโอซากะคงจะเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า "เกียวโตซื้อเสื้อผ้าขนจนหมดตัว โอซากะซื้ออาหารจนหมดตัว"<ref name="ReferenceC">{{cite book|title=Japan Quarterly, ''Asahi Shinbunsha'' 1954 |url=http://books.google.com/?id=gBgVAAAAMAAJ&q=kyoto+kidaore&dq=kyoto+kidaore|accessdate = 2007-03-25|author1=Shinbunsha, Asahi|year=1979}}</ref>
 
อาหารที่มีชื่อเสียงของโอซากะคือ [[โอะโคะโนะมิยะกิโอโคโนมิยากิ]] [[ทะโกะยะทาโกยากิ]] [[อุอูดง]] และ[[ซูชิ#ประเภทของซูชิ|โอชิซูชิ]]
 
แหล่งช็อปปิ้งแหล่งอื่นๆของโอซากะได้แก่
บรรทัด 465:
* [[นัมบะ]] - พื้นที่ซื้อขายสินค้าหลัก ๆ ท่องเที่ยว และร้านอาหาร
* [[ชินไซบาชิ]] - ของประดับ เสื้อผ้า และห้างสรรพสินค้า
* [[อุเมะอูเมดะ]] - โรงภาพยนตร์ เครื่องสำอาง และห้างสรรพสินค้า
 
=== เทศกาลประจำปี ===
บรรทัด 480:
* [[คินเต็ตสึ ไลเนอร์ส]] - ทีมรักบี้ เล่นอยู่ในลีกสูงสุดของญี่ปุ่น
 
นอกจากนี้ โอซากะยังมีจัดทัวร์นาเมนต์[[ซูโม่]]เป็นประจำทุกปี ที่[[บอดี้เมกเกอร์ โคลีเซี่ยม |โรงพลศึกษาจังหวัดโอซากะ]] ในชื่อ ''ซังกัตสึบะโชะกัตสึบาโชะ'' (三月場所 sangatsu basho)
 
== สถานที่ที่น่าสนใจ ==
บรรทัด 488:
* ชิงช้าสวรรค์เทมโปซัง
* สวนสัตว์เทนโนจิ
* HEP Five - ห้างสรรพสินค้าย่าน[[อุเมะอูเมดะ]]ที่มีชิงช้าสวรรค์ที่โด่งดัง
* [[อุเมะอูเมดะสกาย]] - ตึกแฝดสูง 173 เมตร ที่เชื่อมกันด้วยทางเดินลอยฟ้าเพื่อชมวิวแบบ 360 องศา เป็นมุมถ่ายรูปที่มีชื่อเสียง
 
===สวนสาธารณะ===
บรรทัด 509:
* [[โดตมโบริ]] - แหล่งท่องเที่ยว อาหาร เป็นสัญลักษณ์ของโอซากะ
* [[นัมบะ]]และ[[ชินไซบาชิ]] - ตั้งอยู่ที่เขตชูโอ มักเรียกรวมว่าบริเวณมินามิ เป็นถนนช็อปปิง ร้านอาหาร บาร์ และแหล่งเที่ยวกลางคืนที่ไม่รู้จบ
* ชินเซะไกเซไก - อีกสัญลักษณ์หนึ่งของโอซากะ แหล่งอาหาร เครื่องดื่ม มีหอคอยซือเตนคะคุซือเต็งกากุ และขายคะชิคะสึราคาย่อมเยา
* เดนเดนทาวน์ - แหล่งขายเครื่องใช้ไฟฟ้า อนิเมะ เทียบเท่ากับ[[อะกิฮะบะระอากิฮาบาระ]]ของ[[โตเกียว]]
 
==การศึกษา==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอซากะ"