ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาโซกุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า คะโซะกุ ไปยัง คาโซกุ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "คะโซะกุ" → "คาโซกุ" +แทนที่ "ซะมุไร" → "ซามูไร" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Peers Club Inside.jpg|300px|right|thumb|สโมสรขุนนาง กรุงโตเกียว ค.ศ. 1912]]
 
'''คะโซะกุคาโซกุ''' ({{ญี่ปุ่น|華族 "สายเลือดอันสูงศักดิ์"}}) เป็นชนชั้น[[ขุนนาง]]ของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]] ปรากฏอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1869 ถึง 1947 ซึ่งหลังปี ค.ศ. 1884 ได้พัฒนาเป็นระบบขุนนางสืบตระกูลเหมือนในยุโรป ระบบนี้เริ่มขึ้นจากกลุ่มคนที่เรียกว่า ''คุเงะ'' (公家) ซึ่งเป็นเหล่าข้าราชสำนักที่สูญเสียอิทธิพลไปหลังญี่ปุ่นถูกปกครองโดยโชกุน คุเงะเหล่านี้ได้ร่วมล้มล้างระบอบโชกุนและ[[การฟื้นฟูเมจิ|ฟื้นฟูระบอบจักรพรรดิ]]ได้สำเร็จในปี ค.ศ. 1868<ref>Peter Francis Kornicki, ''The emergence of the Meiji state'' (1998), p. 115</ref> หลังจากได้รัฐบาลใหม่ที่มีองค์จักรพรรดิเป็นศูนย์กลาง รัฐบาลใหม่ก็แต่งตั้งคุเงะเหล่านี้เข้าไปกำกับดูแลกรมทั้งเจ็ดซึ่งตั้งขึ้นมาใหม่
 
ในวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1869 ผู้นำในรัฐบาลใหม่ซึ่งมีหัวตะวันตกได้จัดตั้งระบบชนชั้นแบบใหม่ขึ้นมาซึ่งประกอบด้วยชนชั้น ''คะโซะกุคาโซกุ'' (ขุนนาง), ''ชิโซะกุ'' (อดีตซะมุไรซามูไร) และ ''เฮมิน'' (สามัญชน) โดยคนในชนชั้นคะโซะคาโซกุประกอบด้วยบรรดาคุเงะและอดีต[[ไดเมียว]] ซึ่งในขณะนั้นมีตรกูลคะเงะตระกูลคุเงะและอดีตไดเมียวอยู่ทั้งสิ้น 427 ตระกูล และมีมากที่สุดถึง 1,016 ตระกูลในปี 1944<ref>''[[Kodansha Encyclopedia of Japan]]'', p. 1194.</ref>
 
[[ภาพ:Yōshū Chikanobu House of Peers.jpg|thumb|right|300px|จักรพรรดิเมจิทรงเปิดสมัยประชุมสภาขุนนาง ค.ศ. 1890]]
ในช่วงแรก คะโซะคาโซกุทุกคนที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองจะต้องพำนักอยู่ภายในกรุงโตเกียวเท่านั้น จนกระทั่งเมื่อมีการตั้งระบบเบี้ยหวัดรายเดือนขึ้นมาในปลายปี 1869 ได้ทำให้คะโซะคาโซกุจำนวนมากลงจากตำแหน่งทางการเมือง ต่อมาหลัง[[อิโต ฮิโระบุมิโรบูมิ]] รัฐมนตรีมหาดไทย กลับมาจากการเยือนทวีปยุโรป ก็ได้มีการผลักดันและตราพระราชบัญญัติขุนนาง ค.ศ. 1884 ขึ้น ซึ่งจะมอบบรรดาศักดิ์ขุนนางให้แก่คะโซะคาโซกุผู้โดดเด่นในการอุทิศตนให้แก่ชาติบ้านเมือง รัฐบาลได้กำหนดฐานันดรขุนนางสืบตระกูลออกเป็นห้าขั้น เหมือน[[บรรดาศักดิ์อังกฤษ]] คือ:
 
# [[ดยุก]] (公爵 ''โคชะกุ'')
บรรทัด 14:
# [[บารอน]] (男爵 ''ดันชะกุ'')
 
พระบรมวงศ์ชั้น[[ราชวงศ์ญี่ปุ่น#ฐานันดรศักดิ์|ชินโนและไนชินโน]]ส่วนมากจะได้รับบรรดาศักดิ์เป็น '''เจ้าสืบตระกูล''' (宮 ''มิยะ'') ซึ่งเทียบเท่ากับดยุก ในขณะที่ประมุขของราชสกุลทั้งห้าใน[[เครือฟุจิวะระ]] (ราชสกุลโคะโนะเอะโคโนเอะ, ทะกะสึกะซะทากาสึกาซะ, คุโจ, อิชิโจ และ นิโจ) มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าสืบตระกูลเช่นกัน ส่วนประมุขของตระกูลคุเงะอื่นๆจะได้เป็นมาควิส นอกจากนี้ยังมีการพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นกรณีพิเศษด้วย เช่นประมุขของ[[ตระกูลโทะกุงะวะโทกูงาวะ]]ก็มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าสืบตระกูล บรรดาศักดิ์ทั้งหมดของบุคคลที่ไม่ใช่พระบรมวงศ์ถูกยกเลิกตามรัฐธรรมนูญญี่ปุ่น ค.ศ. 1946
 
ระบบขุนนางญี่ปุ่นนี้ แตกต่างจากระบบขุนนางในยุโรปจุดหนึ่งตรงที่ว่า การสืบตระกูลในยุโรปนั้นจะยึดถือตาม[[สิทธิของบุตรหัวปี]]เป็นหลักและต้องเป็นทายาทตามกฎหมาย แต่ในญี่ปุ่นนั้นไม่จำเป็นเสมอไป บุตรนอกกฎหมายสามารถสืบตระกูลและทรัพย์สินได้ ทั้งนี้เพื่อป้องกันการล่มหายของสายตระกูล นอกจากนี้ ประมุขตระกูลอาจรับเอาทายาทบุญธรรมมาจากตระกูลอื่นก็ได้ (ซึ่งนิยมทำกันบ่อย) โดยไม่จำเป็นว่าตระกูลนั้นต้องมีความเกี่ยวข้องแต่อย่างใด ทายาทบุญธรรมนั้นมีสิทธิเหมือนกับทายาททางสายเลือดทุกประการ
 
หลังญี่ปุ่นพ่ายแพ้ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] สหรัฐอเมริกาได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับเดิมและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นบังคับใช้ในปี ค.ศ. 1946 รัฐธรรรมนูญฉบับใหม่นี้ได้ยกเลิกบรรดาศักดิ์ทั้งหมดของบุคคลที่ไม่ใช่พระราชวงศ์ชั้นสูง
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คาโซกุ"