ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Pantakan (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 44:
แล้วจากนั้นก็เริ่มขยายไปยังตลาดต่างประเทศ โดยเปิดบริษัทใน[[ประเทศไต้หวัน|ไต้หวัน]] ในปี [[พ.ศ. 2540]] และในปี [[พ.ศ. 2542]] ได้มีการจัดตั้งสถาบันดนตรี [[โรงเรียนมีฟ้า]] แล้วปีถัดไปในปี [[พ.ศ. 2543]] จัดตั้งหน่วยธุรกิจ E - Business
 
ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] มีการปรับโครงสร้างธุรกิจและองค์กรครั้งใหญ่ โดยแบ่งการดำเนินธุรกิจเป็นสองกลุ่มอย่างชัดเจน พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น''บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)'' (เปลี่ยนเมื่อเดือน[[พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2544]]) และก่อตั้ง''[[บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำกัด (มหาชน)]]'' ควบคุมโดย [[สายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา]] เพื่อดำเนินธุรกิจสื่อทุกประเภท โดยนำทั้งสองบริษัทเข้าจดทะเบียนใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] และมีมูลค่าตลาดอยู่ที่ 5,000 ล้านบาท โดยมีการโอนขายบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจวิทยุ ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์ และธุรกิจสิ่งพิมพ์ จำนวน 8 บริษัท โดยคำว่า "GMM" ย่อมาจาก "Global Music & Media"<ref>http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=3287</ref>
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2546]] กลุ่มบริษัทมีกลยุทธ์ในการขยายธุรกิจภาพยนตร์ ภายในปีเดียวกันมีภาพยนตร์เรื่อง ''[[แฟนฉัน]]'' โดย [[365 ฟิล์ม]] ร่วมทุนสร้างกับ [[ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์]] และ [[หับ โห้ หิ้น]] เป็นภาพยนตร์ที่ทำรายได้มากที่สุดจากการฉายสูงสุดในปีนั้น ด้วยมูลค่าถึง 137.7 ล้านบาท และในปีเดียกัน ภาพยนตร์เรื่อง [[บิวตี้ฟูล บ๊อกเซอร์]] ยังได้รับความสนใจจากต่างประเทศอย่างมาก กำกับโดย [[เอกชัย เอื้อครองธรรม]]