ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ท ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "แซ็กซ์" → "ซัคเซิน" ด้วยสจห.
บรรทัด 2:
| ชื่อ = เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ท <br>ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
| สี = Mediumpurple
| พระนาม =
| พระนาม = เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ท ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา
| ภาพ = ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-R05618, Karl-Eduard von Sachsen-Coburg und Gotha.jpg
| พระอิสริยยศ = [[ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา#ราชวงศ์|ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]]
บรรทัด 8:
| ทรงราชย์ = [[30 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2443]] – [[14 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2461]]
| พระชายา = [[เจ้าหญิงวิกตอเรีย อเดลไฮด์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์]]
| พระราชโอรส/ธิดา = [[เจ้าชายโยฮันน์ เลโอโปลด์ เจ้าชายรัชทายาทซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าชายโยฮันน์ เลโอโพลด์]]<br>[[เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าหญิงซิบิลลา]]<br>[[เจ้าชายฮูแบร์ตุสแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าชายฮิวเบอร์ตัส]]<br>[[เจ้าหญิงแคโรลีน มาทิลดาแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าหญิงแคโรลีน มาธิลด์]]<br>[[เจ้าชายฟรีดริช-โจเซีย เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าชายฟรีดริช โยซิอัส]]
| พระนามเต็ม = เลโอโพลด์ คาร์ล เอดูอาร์ท เกออร์ค อัลแบร์ท
| ราชวงศ์ = [[แซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกธา|ราชวงศ์แซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]]
| พระบิดา = [[เจ้าชายลีโอโพลด์ ดยุกแห่งออลบานี]]
| พระมารดา = [[เจ้าหญิงเฮเลนา ดัชเชสแห่งออลบานี]]
บรรทัด 19:
'''เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ท ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา''' ({{lang-de|Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha}}) หรือพระนามเต็ม '''เลโอโพลด์ คาร์ล เอดูอาร์ท เกออร์ค อัลแบร์ท''' ({{lang-de|Leopold Charles Edward George Albert}}) หรือพระนามแรกประสูติคือ '''เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งออลบานี''' ({{lang-en|Charles Edward, Duke of Albany}}) ทรงเป็น[[ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|ดยุคแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]] องค์ที่สี่และสุดท้าย และในฐานะพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น[[ดยุคแห่งอัลบานี]]อีกด้วย
 
เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ททรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] พระองค์ทรงถูกถอดถอน[[บรรดาศักดิ์ขุนนาง]]และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี [[พ.ศ. 2462]]<ref>{{cite journal
| last =Fitzroy
| first =Almeric
บรรทัด 45:
*ทั้งนี้พระองค์ยังทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติฃั้นที่ 1 ใน [[สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์]] เนื่องจากพระมารดาทรงเป็นพระขนิษฐาแท้ๆใน [[เอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์]]
 
== ดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา ==
 
ในปี [[พ.ศ. 2443]] ดยุคแห่งออลบานี ที่มีพระชนมายุ 14 พรรษาได้เสวยราชสมบัติในรัฐดยุคครองนครแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาสืบต่อ[[เจ้าชายอัลเฟรด ดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]] พระปิตุลาซึ่งเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ส่วน[[เจ้าชายอัลเฟรดแห่งเอดินเบอระ]] (ซึ่งมีพระนามเรียกเล่น "แอฟฟี่หนุ่ม") พระโอรสองค์เดียวในดยุคแห่งเอดินเบอระสิ้นพระชนม์ในปี [[พ.ศ. 2442]] และ[[เจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุคแห่งคอนน็อต|ดยุคแห่งคอนน็อต]] พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ทรงสละราชสิทธิ์การสืบราชสมบัติก่อนแล้ว [[เจ้าชายอาร์เธอร์แห่งคอนน็อต]] พระโอรสในเจ้าชายอาร์เธอร์ กำลังทรงศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่วิทยาลัยอีตันกับเจ้าชายชาร์ลส์ และทรงขู่ที่จะทำร้ายเจ้าชายชาร์ลส์หากไม่ทรงยอมรับการสืบราชสมบัติ เจ้าชายทรงปกครองภายใต้ระบอบผู้สำเร็จราชการโดยเจ้าชายแห่งโฮเฮ็นโลเฮ-แล็งเก็นบูร์กอยู่เป็นเวลาห้าปี เมื่อพระชนมายุครบกำหนดในวันที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2448]] ดยุคแห่งออลบานีก็ทรงเถลิงอำนาจตามรัฐธรรมนูญอย่างเต็มที่มีพระราชสถานะเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา ในฐานะที่เป็นพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของ[[แกรนด์ดยุคแอร์นส์ ลุดวิกแห่งเฮสส์และไรน์]] เจ้าชายแห่งเวลส์ (ต่อมาคือ [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]]) [[จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย|สมเด็จพระจักรพรรดินี อเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย]] [[เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ|สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย]] [[เจ้าหญิงม็อดแห่งเวลส์|สมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์]] [[เจ้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก|สมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ยูจีเนียแห่งสเปน]] และ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์]] นอกจากนี้แล้วยังเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]] แต่จากการดูแลพระญาติหนุ่มพระองค์นี้ของพระจักรพรรดิแสดงให้เห็นว่าเจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ททรงเป็นรู้จักในฐานะพระราชโอรสองค์เจ็ดของพระองค์มากกว่า<ref>{{cite book |last=Sandner |first=Harold |others=Andreas, Prinz von Sachsen-Coburg und Gotha (preface) |title=Das Haus von Sachsen-Coburg und Gotha 1826 bis 2001 |origyear=2004 |publisher= Neue Presse GmbH |location=96450 Coburg |language= German |isbn=3000085254 |pages=195 |chapter=II.8.0 Herzog Carl Eduard |quote= Der deutsche Kaiser Wilhelm II. kummert sich persönlich um ihn, Carl Eduard ist wiederholt Gast am kaiserlich Hof in Berlin und wird der "siebte Sohn des Kaisers" genannt.}}</ref>
 
== อภิเษกสมรส ==
บรรทัด 54:
 
* ''' [[เจ้าชายโยฮันน์ เลโอโปลด์ เจ้าชายรัชทายาทซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา|เจ้าชายโยฮันน์ เลโอโพลด์]]''' ดยุคแห่งแซ็กโซนี (โยฮันน์ เลโอโพลด์ วิลเฮล์ม อัลแบร์ต เฟอร์ดินานด์ วิกเตอร์; [[2 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2449]] - [[4 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2515]])
** ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น '''เจ้าชายรัชทายาทแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา''' เมื่อแรกประสูติ จนถึงการสละฐานันดรศักดิ์เนื่องมาจากการอภิเษกสมรสกับสามัญชนในวันที่ [[14 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2475]]
** ทรงอภิเษกสมรสครั้งแรกเมื่อวันที่ [[14 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2475]] ณ เมืองเดรสเดิน และทรงหย่าร้างในวันที่ [[27 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2505]] กับ บารอนเนส ฟีโอดอรา มารี อัลมา มาร์กาเรเท ฟอน แดร์ ออร์สต์ ([[7 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2448]] - [[23 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2534]])
** ทรงอภิเษกสมรสครั้งที่สองเมื่อวันที่ [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2506]] ณ เมืองบาดไรเชินฮัลล์ กับ มาเรีย เทเรเซีย เอลิซาเบธ ไรน์เดิล ([[13 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2451]] - [[7 เมษายน]] [[พ.ศ. 2539]])
บรรทัด 66:
** ทรงอภิเษกสมรสครั้งที่สามเมื่อวันที่ [[21 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2489]] ณ เมืองโคบวร์ค แต่ทรงหย่าร้างเมื่อวันที่ [[27 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2490]] กับ คาร์ล อ็อตโต อ็องเดร ([[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2455]] - [[16 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2527]])
* '''[[เจ้าชายฟรีดริช-โจเซีย เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]]''' (ฟรีดริช โยซิอัส คาร์ล เอ็ดวาร์ด แอร์นส์ คิริล ฮารัลด์; [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2461]] - [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2541]])
** ทรงดำรงพระอิสริยยศ '''เจ้าชายรัชทายาทแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา''' เมื่อวันที่ [[14 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2475]] หลังการสละฐานันดรศักดิ์ของพระเชษฐา
** ทรงดำรงตำแหน่ง '''ประมุขแห่งราชวงศ์แซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา''' เมื่อวันที่ [[6 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2497]] หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระชนก
** ทรงอภิเษกสมรสครั้งแรกเมื่อวันที่ [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2485]] ณ เมืองคาเซิล แต่ทรงหย่าร้างวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2489]] กับ เค้านท์เตส วิกตอเรีย-หลุยส์ ฟรีเดริเค แคโรลีน มาธิลด์แห่งโซล์มส์-บารูธ ([[13 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2464]] - [[1 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2546]])
** ทรงอภิเษกสมรสครั้งที่สองเมื่อวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2491]] ณ [[ซานฟรานซิสโก|เมืองซานฟรานซิสโก]] [[รัฐแคลิฟอร์เนีย]] แต่ทรงหย่าร้างวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2507]] กับ เดนีส เฮนเรียตตา ฟอน มูราลต์ ([[23 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2466]] - [[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2548]])
บรรทัด 74:
== สงครามโลกครั้งที่ 1 ==
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ททรงสนับสนุน[[ประเทศเยอรมนี]]และทรงปฏิบัติราชการเป็นนายพลในกองทัพบกเยอรมัน (แม้ว่าจะมิเคยทรงดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการใหญ่) ดังนั้นสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 มีพระราชโองการให้ถอดถอนพระนามของเจ้าชายออกจากทะเบียนอัศวินแห่งการ์เตอร์ในปี [[พ.ศ. 2458]] ต่อมาในเดือน[[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2460]] เพื่อที่จะออกจากพื้นเพที่เป็นเยอรมันของราชวงศ์ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ทรงเปลี่ยนชื่อ[[พระราชวงศ์อังกฤษ]]จาก[[ราชวงศ์แซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา]]เป็น[[ราชวงศ์วินด์เซอร์]] ในปีนั้นรัฐสภาอังกฤษได้ผ่านพระราชบัญญัติการถอดถอนฐานันดรศักดิ์ซึ่งให้อำนาจสภาองคมนตรีที่จะสืบสวน "บุคคลใดก็ตามอันมีศักดิ์เป็นขุนนางหรือเจ้าชายอังกฤษ ซึ่งได้ถืออาวุธต่อต้านพระเจ้าอยู่หัวหรือพันธมิตรของพระองค์ หรือซึ่งร่วมเป็นภาคีกับศัตรูของพระเจ้าอยู่หัว" ภายใต้เงื่อนไขในพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว พระบรมราชโองการตามคำแนะนำของคณะองคมนตรีลงวันที่ [[28 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2462]] ได้ถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางอังกฤษ ดยุคแห่งออลบานี เอิร์ลแห่งคลาเรนซ์ และบารอนแห่งอาร์คโลว์ของเจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ทออกอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้พระองค์และพระโอรสธิดายังทรงสูญเสียฐานันดรศักดิ์เจ้าชายและเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักร รวมทั้งพระอิสริยยศในชั้นเจ้าฟ้า (Royal Highness) อีกด้วย<ref>ในฐานะพระราชนัดดาของพระประมุขแห่งอังกฤษ ผ่านทางพระราชโอรส เจ้าชายคาร์ล เอดูอาร์ททรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ในฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า ตามพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียฉบับวันที่ [[30 มกราคม]] [[พ.ศ. 2407]] และวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2441]] การงดเว้นบรรดาศักดิ์ขุนนางตามพระราชบัญญัติถอดถอนฐานันดรศักดิ์ไม่มีผลต่อ[[ลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ]]ของเจ้าชาย ตามข้อกำหนดที่วางไว้เมื่อปี [[พ.ศ. 2258]] พระโอรสและธิดาของเจ้าชาย ซึ่งเป็นพระราชปนัดดาในสายพระราชโอรสที่ถูกกฎหมายของพระประมุขแห่งอังกฤษ ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าชายและเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ฐานันดรศักดิ์ชั้นเจ้าฟ้า แต่กระนั้นสิทธิในการใช้พระอิสริยยศและฐานันดรศักดิ์ของอังกฤษได้ถูกยกเลิกโดยพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ลงวันที่ [[30 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2460]]</ref>
 
== พลเรือนสามัญ ==
 
ในวันที่ [[18 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2461]] สภาทหารและแรงงานแห่งเมืองโกทาได้ปลดดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาออกจากราชบัลลังก์ อีกห้าวันต่อมา พระองค์ได้ทรงลงนามในประกาศการสละราชสิทธิในการสืบราชสมบัติ เมื่อทรงกลายเป็นพลเรือนสามัญในขณะนี้ ดยุคคาร์ล เอ็ดวาร์ดซึ่งได้ทรงถูกปลดออกจากราชบัลลังก์ทรงเกี่ยวข้ององค์การทางการเมืองและลักษณะแบบทหารฝ่ายขวามากมาย<ref>อภิสิทธิ์ทางกฎหมายและสืบทอดตามสายเลือดต่างๆ ของราชวงศ์กษัตริย์ เจ้าครองรัฐ ดยุคและขุนนางเยอรมันสิ้นสุดลงในเดือน[[สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2462]] เมื่อรัฐธรรมนูญของ[[สาธารณรัฐไวมาร์]]มีผลบังคับใช้ แต่กระนั้นสาธารณรัฐไวมาร์ไม่ได้ห้ามการใช้พระอิสริยยศและราชทินนามชั้นสูงอย่างเช่น [[ประเทศออสเตรีย]] แต่รัฐสภาแห่งจักรวรรดิ (Reichstag) ได้ผ่านกฎหมายซึ่งให้เปลี่ยนพระอิสริยยศราชวงศ์และขุนนางที่เคยมีอยู่มาเป็นส่วนหนึ่งของนามสกุลแทน ดังนั้นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาจึงทรงกลายเป็น ''"คาร์ล เอดูอาร์ด แอร์ซ็อก ฟอน ซักเซิน-โคบวร์ค อุนด์ โกทา"''</ref> เมื่อปี [[พ.ศ. 2475]] พระองค์ทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งแนวร่วมฮาร์ซบูร์ก ซึ่งพรรค Deutschnationale Partei (พรรคแห่งชาติเยอรมัน) ได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[พรรคนาซี]]โดยผ่านทางแนวร่วม พระองค์ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีและเป็นสมาชิกของ Sturmabteilung (ซึ่งแปลว่า หน่วยพายุ หรือ พวกเสื้อน้ำตาล) โดยขึ้นถึงตำแหน่งของหัวหน้ากลุ่มอาวุโส (Obergruppenführer) นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเป็นสมาชิกในรัฐสภาจักรวรรดิตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2480]] ถึงปี [[พ.ศ. 2486]] และประธานสภากาชาดเยอรมันตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2476]] ถึงปี [[พ.ศ. 2488]] อีกด้วย พระองค์ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีอย่างเป็นทางการในปี [[พ.ศ. 2477]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2479]] [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ได้ส่งดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาไปยังประเทศอังกฤษในฐานะประธานสมาคมมิตรภาพอังกฤษ-เยอรมัน ภารกิจของพระองค์คือ การพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างอังกฤษและเยอรมนีและสืบหาความเป็นไปได้ในการทำสัญญาระหว่างทั้งสองประเทศ ดยุคซึ่งทรงเข้าร่วมพระราชพิธีศพของ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] ในชุดเครื่องแบบของหน่วยพายุ ทรงยื่นข้อเสนอเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการทำสัญญาตกลงกับ[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8]] พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ แต่ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นจากการเจรจาครั้งนี้ แต่กระนั้นพระองค์ยังทรงส่งรายงานให้กำลังใจฮิตเลอร์เกี่ยวกับความฝักใฝ่ฝ่ายเยอรมันอันแข็งแกร่งในหมู่ชนชั้นสูงของอังกฤษ ในภายหลังจาก[[วิกฤติการณ์การสละราชสมบัติ]] พระองค์ทรงทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพต้อนรับอดีตพระมหากษัตริย์และพระชายา ซึ่งในขณะนี้ทรงเป็นดยุคและดัชเชสแห่งวินด์เซอร์ ในระหว่างการเสด็จเยือนประเทศเยอรมนีอย่างเป็นทางการในปี [[พ.ศ. 2481]]
 
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] สิ้นสุดลง รัฐบาลทางการทหารอเมริกันในรัฐบาวาเรีย ภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลจอร์จ สมิธ แพ็ตตันได้ทำการกักบริเวณดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาอยู่ภายในพระตำหนักที่ประทับอันเนื่องมาจากการสนับสนุนฝ่าย[[นาซีเยอรมัน]] ในปี [[พ.ศ. 2489]] พระองค์ทรงถูกพิพากษาคดีในศาลการกำจัดระบอบนาซีและทรงถูกปรับอย่างหนัก ทรัพย์สมบัติจำนวนมากในเมืองแซ็กโซนีและโคบวร์คถูกยึดโดยกองทัพโซเวียต
 
ดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทาทรงดำรงพระชนม์ชีพบั้นปลายด้วยความโดดเดี่ยว พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[6 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2497]] ณ เมืองโคบวร์ค โดยเป็นพระราชนัดดาผู้ชายพระองค์ที่ทรงมีอาวุโสมากกว่าในสองพระองค์ที่ยังมีพระชนม์ชีพอยู่ของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย โดยพระราชนัดดาอีกพระองค์หนึ่ง คือ [[อเล็กซานเดอร์ เมานท์แบ็ตเต็น มาร์ควิสแห่งคาริสบรูค]] อดีตเจ้าชายแห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก ซึ่งสิ้นพระชนม์ในวันที่ [[23 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2503]]
 
== พระอิสริยยศและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 91:
[[ไฟล์:Coat of Arms of Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha.svg|178px|thumb|left|ตราอาร์มประจำพระองค์]]
* [[พ.ศ. 2427]] - [[พ.ศ. 2443]]: สมเด็จเจ้าฟ้าชายดยุคแห่งออลบานี (His Royal Highness The Duke of Albany)
* [[พ.ศ. 2443]] - [[พ.ศ. 2462]]: สมเด็จเจ้าฟ้าชายดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา (His Royal Highness The Duke of Saxe-Coburg and Gotha)
* [[พ.ศ. 2462]] - [[พ.ศ. 2497]]: สมเด็จพระองค์เจ้าชายดยุคแห่งแซ็กซ์ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา (His Highness The Duke of Saxe-Coburg and Gotha)
 
=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===