ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตองจี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tonson Tonsai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47:
}}
 
'''ตองจี''' ({{MYname|MY=တောင်ကြီး|MLCTS=taung kri:}}, {{IPA-my|tàʊɴdʑí|pron}}; [[ภาษาไทใหญ่|ไทใหญ่]]: {{my|တွင်ႇၵျီး}}, {{IPA|[tɔ̀ŋ.kjí]}} ''ต่องกฺยี๊''; {{lang-en|Taunggyi}}) เป็นเมืองหลวงของ[[รัฐชาน]]ใน[[ประเทศพม่า]] ห่างจาก[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 480 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนภูเขาสูง เนื้อที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร อากาศค่อนข้างเย็นตลอดปี เพราะที่นี่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,712 ฟุต ชื่อตองจีเป็น[[ภาษาพม่า]] มาจากคำว่า ตอง หรือ ต่อง แปลว่า ภูเขา และ จี แปลว่า ใหญ่<ref>บุญยงค์ เกศเทศ. '''อรุณรุ่งฟ้าฉานเล่าตำนานคนไท'''. หน้า 112</ref> ประชากรร้อยละ 95 นั้นเป็นชาวปะโอ (Pa-Oh){{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== ประวัติ ==
ก่อนที่จะมีการล่าอาณานิคมของประเทศอังกฤษ ตองจีเป็นเพียงแค่หมู่บ้านขนาดเล็ก ประกอบด้วยกระท่อมเพียงไม่กี่หลัง ตั้งอยู่บนพื้นที่ของไหล่เขาสะตวงในภูเขาฉาน อาศัยโดยชนชาติฉานในเวลานั้น
ปัจจุบันตัวเมืองขยายออกไปเพราะความเจริญทางการค้า สองฟากถนนเป็นตึกแถวแบบต่างจังหวัดของไทย บริเวณที่อยู่อาศัยมีต้นไม้ ดอกไม้เมืองหนาวเขียวชอุ่ม
 
แต่เมื่ออังกฤษได้ยึดครองพม่าแล้ว หมู่บ้านตองจีได้พัฒนากลายเป็นหัวเมืองใหญ่และถูกตั้งเป็นเมืองหลวงของรัฐฉานใต้ ซึ่งการพัฒนาความทันสมัยของตองจีเริ่มในปี พ.ศ.2437 เมื่ออังกฤษย้ายสำนักงานบริหารมาตั้ง ณ ฝั่งตะวันออกของทะเลสาบอินเล ด้วยเหตุผลด้านสุขภาพและภูมิศาสตร์
รัฐชานอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของพม่า เป็นรัฐสำคัญรัฐหนึ่ง ในจำนวนรัฐทั้งเจ็ดของสหภาพพม่า นอกจากชนเผ่า[[ไทใหญ่]] ก็มีชนเผ่าต่าง ๆ เช่น [[ปะโอ]] [[ปะหล่อง]] เป็นต้น ในประวัติศาสตร์ที่ชาวพม่าเขียนกล่าวว่า พวกไทใหญ่เข้ามามีอิทธิพลในเขตภูเขาสูงทางตะวันออก ตั้งแต่[[คริสต์ศตวรรษที่ 13]] เป็นพวกที่ทำนาและนับถือ[[ศาสนาพุทธ]] มีระบบการปกครองแบบเจ้าเมืองที่สืบทอดมรดกถึงลูกหลาน แต่ปัจจุบันนี้อำนาจของเจ้าได้เสื่อมไป เพราะอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่นเข้ามาแทนที่
 
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2449 มีการตั้งบ้านเรือนนับพันหลัง เนื่องจากความไม่สงบในรัฐฉานในช่วงต้นทศวรรษ 1900 ตองจีซึ่งเป็นเมืองหัวหน้ากองทหารตำรวจ และศูนย์กลางการจัดหาอาหารของกองทัพจึงทำให้ คนหลายเชื้อชาติเข้ามาอาศัยอยู่ ณ ที่นี่
ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ประเทศไทยได้ส่งกองทัพพายัพเข้าได้เข้ายึดเมืองตองจีรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ[[สหรัฐไทยเดิม]] จนกระทั่งภายหลังสงครามไทยได้ส่งมอบเมืองคืนให้กับกองพลอินเดียที่ 7 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2488 รัฐบาลไทยสมัย นายควง อภัยวงศ์ คืนดินแดนส่วนนี้ให้กับ[[สหประชาชาติ]]ซึ่งภายหลังอังกฤษได้ผนวกดินแดนนี้เข้ากับประเทศพม่าในเวลาต่อมา
 
ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ประเทศไทยได้ส่งกองทัพพายัพเข้าได้เข้ายึดผนวกเมืองตองจีรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ[[สหรัฐไทยเดิม]] จนกระทั่งภายหลังสงครามไทยได้ส่งมอบเมืองคืนให้กับกองพลอินเดียที่ 7 เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2488 รัฐบาลไทยสมัย นายควง อภัยวงศ์ คืนดินแดนส่วนนี้ให้กับ[[สหประชาชาติ]]ซึ่งภายหลังอังกฤษได้ผนวกรวมดินแดนนี้เข้ากับประเทศพม่าในเวลาต่อมา
 
== เศรษฐกิจ ==
 
=== การท่องเที่ยว ===
 
เมืองตองจีนับเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของนักท่องเที่ยว ภายในเมืองเมืองมี ตลาดห้าวัน ซึ่งเป็นสถานที่ที่เกษตรกรจากทั่วพื้นที่จะนำผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมาจำหน่าย แต่เมื่อมีการพัฒนาเมืองมากขึ้นความสำคัญของตลาดสดก็ลดลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามประเพณีการซื้อขายในตลาดยังคงได้รับความสนใจในเมืองเล็ก ๆ ที่ห่างไกล เช่น บริเวณทะเลสาบอินเล เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์หัตถกรรมและสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง
=== อุตสาหกรรม ===
 
ไม่มีอุตสาหกรรมสำคัญในตองจี อดีตตองจีเคยเป็นจุดแลกเปลี่ยนสินค้าสำคัญสำหรับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของเมืองต่างๆในรัฐฉานใต้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากข้อบังคับเกี่ยวกับการกำหนดเขตแดนที่เพิ่งมีการปรับเปลี่ยนของรัฐบาลพม่า การค้าขายส่วนใหญ่จึงได้ถูกย้ายไปยังเมืองใหม่ เอทาร์ยา
=== การเกษตร ===
 
อีกหนึ่งรายได้เศรษฐกิจของตองจี คือการทำฟาร์มและเกษตรกรรมต่างๆ เกษตรกรในเขตตองจี ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ฉาน และปะโอ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรหลักของตองยีคือ มันฝรั่ง ใบชา มะเขือเทศ ถั่วพล้มและผลไม้ตามฤดูกาล
 
== การปกครอง ==
 
'''ตองจี''' แบ่งการปกครองเป็น 20 เขต ได้แก่<ref>บุญยงค์ เกศเทศ. '''อรุณรุ่งฟ้าฉานเล่าตำนานคนไท'''. หน้า 118</ref>
* เขตเจ้าสามทุน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตองจี"