ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีหัวลำโพง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Art Choco Love (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
[[ถนนพระรามที่ 4]] บริเวณ[[แยกหัวลำโพง]] จุดบรรจบ [[ถนนพระรามที่ 4]], [[ถนนรองเมือง]], ทางขึ้นทางด่วนหัวลำโพง และ [[ถนนมหาพฤฒาราม]] ในพื้นที่แขวงรองเมือง [[เขตปทุมวัน]] และแขวงมหาพฤฒาราม [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
สำหรับที่ตั้งของสถานีหัวลำโพง นอกจากมีความโดดเด่นจากการเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟหัวลำโพง ซึ่งเป็นต้นทางหลักของรถไฟทางไกลทั่วประเทศแล้ว ยังอยู่ใกล้กับย่านธุรกิจการค้าที่สำคัญของชาวไทยเชื้อสายจีน บริเวณ[[ห้าแยกหมอมี|สามแยก (ห้าแยกหมอมี)]], [[ตลาดน้อย]] และ[[วงเวียนโอเดียน]] ที่เป็นจุดเริ่มต้นของ[[ถนนเยาวราช]] หรือ "ไชน่าทาวน์" ของเมืองไทย ทำให้สถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพงเป็นอีกหนึ่งสถานี ที่มีบทบาทสำคัญด้านการท่องเที่ยวในกรุงเทพฯ และในขณะนี้ที่ระบบรถไฟฟ้ายังครอบคลุมไปไม่ถึงพื้นที่เมืองเก่าบริเวณ[[เกาะกรุงรัตนโกสินทร์]] สถานีหัวลำโพงก็ยังมีความสำคัญต่อการเดินทางของผู้โดยสารในย่านเมืองเก่า เช่น [[เยาวราช]] [[คลองถม]] [[พาหุรัด]] [[ปากคลองตลาด]] ซึ่งโดยสารรถประจำทางมาเชื่อมต่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกสู่พื้นที่อื่น ๆ ของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะด้านตะวันออก เพราะในปัจจุบันสถานีหัวลำโพงถือได้ว่าเป็นสถานีรถไฟฟ้าที่อยู่ใกล้กับเขตเมืองเก่ามากที่สุด เพียงถัดจาก[[คลองผดุงกรุงเกษม]] ซึ่งเป็นคูเมืองชั้นนอกสุดของกรุงเทพฯ บริเวณ[[สะพานเจริญสวัสดิ์ 36]]
 
โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2558) สถานีหัวลำโพงยังคงเป็นสถานีปลายทางในระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล แต่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค โดยหลังจากนี้ชานชาลาที่ 1 ที่มุ่งหน้าไป[[สถานีหลักสอง]] จะลดระดับกลายเป็นชานชาลาแบบสองชั้นเหมือนเดิม เนื่องจากวิ่งเลียบเข้าถนนเจริญกรุงที่มีทางแคบ และจะลดระดับลงไปเรื่อยๆ จนถึงความลึกที่ 40 เมตร เพื่อลอดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา แล้วยกระดับขึ้นมาเรื่อยๆ จนมาขึ้นพ้นระดับใต้ดินที่บริเวณสถานีอิสรภาพ ก่อนมุ่งหน้าเข้าสู่[[สถานีท่าพระ]]
บรรทัด 101:
== นิทรรศการถาวรภายในสถานี ==
จัดแสดงบริเวณทางเดินเชื่อมต่อสถานีรถไฟหัวลำโพง ระหว่างทางเข้า-ออกที่ 2 และ 3
* ศิลาฤกษ์โครงการรถไฟฟ้ามหานคร ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองค์ทรงวางที่บริเวณหน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 อยู่บนแท่นภายใต้หลังคา[[พีระมิด]]แก้ว ซึ่งโผล่พ้นระดับดินบริเวณทางเข้า-ออกที่ 3
* ประวัติความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร และภาพการก่อสร้าง
* จารึกรายชื่อผู้ที่มีส่วนร่วมในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รวมถึงผู้เสียสละ (ผู้ที่ถูกเวนคืนที่ดิน) บนผนังของโถงบันไดเลื่อนทางเข้า-ออกที่ 3
* [[พระเก้าอี้ลำลอง]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ]] เมื่อเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟฟ้าใต้ดินสายเฉลิมรัชมงคล วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
 
== รถโดยสารประจำทาง ==
บรรทัด 141:
 
== เหตุการณ์สำคัญในอดีต ==
* วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จแทนพระองค์ทรงวางศิลาฤกษ์โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณหน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง ในเวลา 16.39 น.
* วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เวลา 17.30 น. [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟฟ้าใต้ดินสายเฉลิมรัชมงคล ที่สถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพง และประทับรถพระที่นั่ง (รถกอล์ฟ) ไปยังมณฑลพิธี ทรงกดปุ่มเปิดแพรคลุมป้ายโครงการ แล้วเสด็จประทับรถไฟฟ้าพระที่นั่งไปยัง[[สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีรถไฟฟ้าบางซื่อ]] ก่อนเสด็จฯ กลับมายังศูนย์ซ่อมบำรุงและศูนย์ควบคุมการปฏิบัติการ เพื่อทรงเปิดการเดินรถอย่างเป็นทางการ
 
== อ้างอิง ==
บรรทัด 153:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Hua Lamphong MRT Station|สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)}}
{{เริ่มทางรถไฟ}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}}|ก่อนหน้า=''[[สถานีวัดมังกร]]<br>มุ่งหน้า [[สถานีหลักสอง]] (กำลังก่อสร้างติดตั้งระบบ)''| ถัดไป =[[สถานีสามย่าน]]<br />''มุ่งหน้า [[สถานีเตาปูน]]''}}
{{สถานีรถไฟ|สาย={{BTS Lines|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม}}|สี ={{BTS color|รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง}}|ก่อนหน้า=''สถานีปลายทาง''| ถัดไป =[[สถานียศเส]]<br />''มุ่งหน้า [[สถานีรังสิต]]}}
{{จบกล่อง}}