ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัญญาณดิจิทัล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ThongchoD25477 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ThongchoD25477 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7:
 
==รูปคลื่นในระบบดิจิทัล==
[[ไฟล์:S digital.PNG|thumb|รูปคลื่นสัญญาณดิจิทัล: (1) ระดับต่ำ, (2) ระดับสูง, (3) ขอบกำลังขึ้น, และ (4) ขอบกำลังลง]]
 
ในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัลอื่น ๆ รูปคลื่นที่สลับระหว่างสองระดับแรงดันไฟฟ้าที่เป็นตัวแทนของทั้งสองสถานะของค่าบูลีน (0 และ 1) จะถูกเรียกว่าเป็นสัญญาณดิจิทัล ถึงแม้ว่ามันจะเป็นรูปคลื่นแรงดันแอนะล็อก เพราะมันจะถูกแปลในรูปของสองระดับเท่านั้น
[[ไฟล์:S digital.PNG|thumb|รูปคลื่นสัญญาณดิจิทัล: (1) ระดับต่ำ, (2) ระดับสูง, (3) ขอบกำลังขึ้น, และ (4) ขอบกำลังลง]]
ในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบดิจิทัลอื่น ๆ รูปคลื่นที่สลับระหว่างสองระดับแรงดันไฟฟ้าที่เป็นตัวแทนของทั้งสองสถานะของค่าบูลีน (0 และ 1) จะถูกเรียกว่าเป็นสัญญาณดิจิทัล ถึงแม้ว่ามันจะเป็นรูปคลื่นแรงดันแอนะล็อก เพราะมันจะถูกแปลในรูปของสองระดับเท่านั้น
 
สัญญาณนาฬิกาเป็นสัญญาณดิจิทัลพิเศษที่ใช้ในการซิงโครไนส์กับวงจรดิจิทัลต่าง ๆ ภาพประกอบจะแสดงรูปคลื่นของสัญญาณนาฬิกา การเปลี่ยนแปลงแบบลอจิกจะถูกกระตุ้นโดยขอบที่กำลังขึ้นหรือขอบที่กำลังลงอย่างใดอย่างหนึ่ง
 
แผนภาพประกอบเป็นตัวอย่างของชีพจรในทางปฏิบัติและดังนั้นเราจึงได้แนะนำศัพท์ใหม่สองคำดังนี้:
*ขอบกำลังขึ้น หมายถึงการเปลี่ยนผ่านจากแรงดันต่ำ (ระดับที่ 1 ในแผนภาพ) ไปแรงดันสูง (ระดับ 2)
*ขอบกำลังลง หมายถึงการเปลี่ยนผ่านจากแรงดันสูงไปแรงดันต่ำ
 
ถึงแม้ว่าในรูปแบบของวงจรดิจิทัลที่ง่ายและในอุดมคติมาก ๆ ที่เราอาจจะต้องการให้การเปลี่ยนผ่านในระดับแรงดันให้เกิดขึ้นในทันทีทันใดเพื่อให้ได้รูปคลื่นที่ขึ้นลงทันทีทันใด โลกแห่งความจริงไม่มีวงจรที่สามารถเปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็วอย่างนั้น ซึ่งหมายความว่าในช่วงเวลาการเปลี่ยนผ่านระยะสั้น เอาต์พุตอาจจะไม่สะท้อนอย่างเหมาะสมกับอินพุท และ แน่นอนอาจไม่สอดคล้องกับระดับแรงดันไฟฟ้าลอจิกไม่ว่าที่ระดับสูงหรือระดับต่ำ
pop
 
==ระดับแรงดันลอจิก==