ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพิชัยดาบหัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| other_name = จ้อย, นายทองดีฟันขาว
| nationality = ไทย
| occupations = ขุนนางฝ่ายทหารในสมัย[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]], เจ้า[[เมืองพิชัย]]
| genre =
| subjects =
บรรทัด 24:
| spouse =
| footnotes =
| wiki_links = [[:หมวดหมู่:นายทหารชาวไทยขุนนางในสมัยกรุงธนบุรี]] }}
 
'''พระยาพิชัยดาบหัก''' เป็นขุนนางในสมัย[[อาณาจักรอยุธยา|อยุธยาตอนปลาย]]และ[[อาณาจักรธนบุรี|ธนบุรี]] ปรากฎชื่อใน[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา|พระราชพงศาวดาร]]เนื่องจากท่านเป็นทหารเอกคู่พระทัยของ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]มีส่วนกอบกู้เอกราชของชาติไทยหลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] มีชื่อเสียงอย่างยิ่งจากความกตัญญูกตเวทีและความกล้าหาญ<ref>สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2512). '''ที่ระลึกพิธีเปิดอนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ณ หน้าศาลากลาง จังหวัดอุตรดิตถ์ 20 กุมภาพันธ์ 2512'''. พระนคร : โรงพิมพ์มงคลการพิมพ์. หน้า 3</ref>
'''พระยาพิชัยดาบหัก''' ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีชื่อเสียงอย่างยิ่งในชั้นเชิงการต่อสู้ ทั้งมือเปล่าแบบมวยไทย และอาวุธแบบกระบี่ กระบอง เดิมชื่อ จ้อย เกิดที่บ้าน ห้วยคา [[อำเภอพิชัย]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2284]] ในสมัยปลาย[[กรุงศรีอยุธยา]] ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว มีความสามารถทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ
 
เดิมท่านชื่อ จ้อย เกิดที่บ้านห้วยคา [[อำเภอพิชัย]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ในสมัยปลาย[[กรุงศรีอยุธยา]] ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว มีความสามารถและชื่อเสียงอย่างยิ่งทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ จนได้เข้ารับราชการกับ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ตั้งแต่ครั้งดำรงตำแหน่งเป็นพระยาตาก ต่อมานายทองดีได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์องครักษ์มีบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงพิชัยอาสา" เมื่อรับราชการมีความดีความชอบจึงได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ พระยาสีหราชเดโช และพระยาพิชัย ผู้สำเร็จราชการครอง[[เมืองพิชัย]] ซึ่งรับพระราชทานเครื่องยศเสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ ตามลำดับ
 
ภายหลังข้าศึกยกทัพมาตีเมืองพิชัย 2 ครั้ง ในการรบครั้งที่ 2 พระยาพิชัยถือดาบสองมือออกต่อสู้จนดาบหักไปข้างหนึ่ง และรักษาเมืองไว้ได้ ดังนั้นจึงไดัรับสมญานามว่า "พระยาพิชัยดาบหัก"