ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออลเทอร์นาทิฟร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sailom12 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sailom12 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
อีกฟากหนึ่ง ออลเทอร์นาทิฟร็อกอังกฤษเริ่มมีความโดดเด่นขึ้นมาในช่วงที่สหรัฐอยู่ในช่วงแรก โดยเริ่มใส่ความเป็นป็อปมากกว่า (ดูได้จากอัลบัมและซิงเกิลที่โดดเด่น เช่นเดียวกับการเปิดกว้างที่มักใส่องค์ประกอบเพลงเต้นรำและวัฒนธรรมในคลับเข้ามาด้วย) และเนื้อเพลงให้ความสำคัญกับความเป็นชาวอังกฤษ ผลก็คือ วงออลเทอร์นาทิฟร็อกจำนวนหนึ่งประสบความสำเร็จด้านยอดขายในสหรัฐด้วย<ref name="British alt-rock">{{citeweb|url=http://www.allmusic.com/explore/essay/british-alternative-rock-t579 |title=British Alternative Rock |author=Stephen Thomas Erlewine |work=[[AllMusic]] |deadurl=bot: unknown |archiveurl=https://web.archive.org/web/20101028135054/http://www.allmusic.com/explore/essay/british-alternative-rock-t579 |archivedate=October 28, 2010 }}</ref> ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมาเพลงออลเทอร์นาทิฟร็อกได้รับการเปิดออกอากาศอย่างแพร่หลายบนวิทยุในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ดีเจหลายคน อาทิ จอห์น พีล (ทำงานสถานีวิทยุออลเทอร์นาทิฟบน [[บีบีซีเรดิโอวัน]]), ริชาร์ด สกินเนอร์ และแอนนี ไนติงเกล นอกจากนี้ศิลปินยังมีกลุ่มผู้ติดตามอย่างเหนียวแน่ทั้งในสหรัฐ โดยผ่านสถานีวิทยุแห่งชาติอังกฤษและสื่อดนตรีรายสัปดาห์ และยังมีวงออลเทอร์นาทิฟหลายวงประสบความสำเร็จที่ชาร์ตในสหรัฐนี้ด้วย<ref>Charlton, p. 349.</ref>
 
====เพลงใต้ดินในสหรัฐอเมริกา ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980====
[[File:SonicYouth.JPG|alt=A woman and a man playing guitar in performance. The woman on the left is dressed in a short dress and the man on the right is in jeans and a shirt.|thumb|left|[[Kim Gordon|คิม กอร์ดอน]] กับ [[Thurston Moore|เทิร์สตัน มัวร์]] จากวง[[Sonic Youth|โซนิกยูท]]]]
 
บรรทัด 45:
 
ปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 กระแสออลเทอร์นาทิฟร็อกอเมริกันมีอิทธิพลกว้างขึ้นตั้งแต่ เพลงออลเทอร์นาทิฟพอปแปลก ๆ ([[They Might Be Giants|เดย์ไมต์บีไจแอนส์]] และ [[Camper Van Beethoven|แคมเปอร์แวนบีโทเฟน]]) ไปจนถึง[[นอยส์ร็อก]]([[Sonic Youth|โซนิกยูท]], [[Big Black|บิกแบล็ก]], [[The Jesus Lizard|เดอะจีสัสไลซาร์ด]]<ref>Erlewine, Stephen Thomas. [{{Allmusic|class=artist|id=the-jesus-lizard-mn0000089305|pure_url=yes}} "The Jesus Lizard Biography"]. [[AllMusic]]. Retrieved August 25, 2008.</ref>) และ[[อินดัสเทรียลร็อก]] ([[Ministry (band)|มินิสทรี]], [[Nine Inch Nails|ไนน์อินช์เนลส์]]) ซาวด์ดนตรีเหล่านี้ทำให้มีวงที่ตามมา อย่างวงจาก[[บอสตัน]]ที่ชื่อ [[พิกซีส์]] และวงจาก[[ลอสแอนเจลิส]]ที่ชื่อ [[เจนส์แอดดิกชัน]]<ref name="American alt-rock"/> ในช่วงเวลาเดียวกัน แนวย่อยเพลงกรันจ์กำเนิดขึ้นใน[[ซีแอตเทิล]] [[รัฐวอชิงตัน]] ในช่วงแรกใช้ชื่อว่า "เดอะซีแอตเทิลซาวด์" (The Seattle Sound) จนกระแสกระแสเพลงแนวนี้ได้รับความนิยมในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990<ref>http://rock.about.com/od/top10lists/tp/Most-Influential-Seattle-Bands.htm</ref> กรันจ์เป็นเพลงที่มีส่วนผสมดนตรีกีตาร์ที่ฟังดูเลอะเทอะและมืดมัว ที่ปะติดปะต่อเข้ากับ[[เฮฟวีเมทัล]]และพังก์ร็อก<ref>{{cite web|title=Genre&nbsp;– Grunge|publisher=[[AllMusic]]|url={{Allmusic|class=style|id=grunge-ma0000002626|pure_url=yes}}|accessdate=October 6, 2007}}</ref> มีการประชาสัมพันธ์อย่างกว้างขวางโดยค่ายเพลงอิสระที่ชื่อ ซับป็อป วงกรันจ์ได้รับการกล่าวว่ามีแฟชั่นจากร้านราคาถูก มักเป็นเสื้อเชิร์ตสักหลาดและใส่รองเท้าบูตคอมแบต เข้ากับภูมิอากาศท้องถิ่น<ref name="success NYT">Marin, Rick. "Grunge: A Success Story". ''The New York Times''. November 15, 1992.</ref> วงกรันจ์ยุคแรกเช่น ซาวด์การ์เดน และมัดฮันนี ที่ได้รับการกล่าวถึงในสหรัฐและสหราชอาณาจักรตามลำดับ<ref name="American alt-rock"/>
 
====เพลงใต้ดินในสหรัฐราชอาณาจักร ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980====
 
====ความนิยมในช่วงยุค 90s====
 
====กรันจ์====
 
====บริทป็อป====
 
====อินดี้ร็อก====
 
====โพสต์-กรันจ์====
 
====โพสต์-ร็อก====
 
====แนวเพลง อื่นๆ====
 
== ดูเพิ่ม ==