ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดไซตามะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| Map =Map_of_Japan_with_highlight_on_11_Saitama_prefecture.svg
| Website = http://www.pref.saitama.lg.jp/index_e.html
| Governor = คิโยชิ อุอูเอดะ
}}
[[ไฟล์:Saitama city .jpg|thumb|200px|เมืองไซตามะ]]
'''จังหวัดไซตามะ''' ({{ญี่ปุ่น|埼玉県|Saitama-ken}}) เป็นเขตการปกครองระดับจังหวัดของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ตั้งอยู่บริเวณ[[ภาคคันโต]] มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือ [[ไซตามะ (เมือง)|ไซตามะ]]
 
จังหวัดไซตามะเป็นที่ตั้งของ[[สนามกีฬาไซตามะ 2002|สนามกีฬาไซตามะ 2002]] เป็นสนามกีฬาฟุตบอลที่ใช้แข่งขัน[[ฟุตบอลโลก 2002|ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายปี 2002]] ศูนย์กีฬาในร่มไฮเทค[[ไซตามะซูเปอร์อารีนา|ไซตามะซูเปอร์อารีนา]] จังหวัดไซตามะเป็นจังหวัดที่มีความเจริญมากเพราะอยู่ติดกับ[[กรุงโตเกียว]] ซึ่งเขต[[ชิชิชิจิบุ]]ในจังหวัดนี้มีเทือกเขา ทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงาม จึงเป็นจุดที่มีนักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมา ส่วนสถานที่น่าสนใจอีกที่หนึ่งก็คือ [[หมู่บ้านบอนไซ]] [[โอมิยะ]]
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ในสมัยโบราณ เริ่มมีผู้คนเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองไซตามะตั้งแต่ประมาณเมื่อ 30,000 ปีก่อน โดยจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เมือง[[โทะโกะโระซะวะโทโกโรซาวะ]](所沢) หรือเมืองคะวะคาวาโมโตะ ทำให้ทราบว่าผู้คนในสมัยโบราณนั้นหาอาหารจากการล่าสัตว์และจับปลา หลังจากนั้นก็พบเครื่องใช้ในการหุงหาและเก็บรักษาอาหารใน[[ยุคโจมง|สมัยโจมง]]ที่มีอายุเก่าแก่ 10,000 ปีก่อนหน้านี้ในภายหลัง ทำให้ทราบถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนในสมัยโบราณอย่างแน่ชัด
 
เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อน ก็ได้มีการนำการปลูกข้าวขึ้นมาเผยแพร่จากฝั่งตะวันตกของประเทศ พร้อมทั้งยังมีการนำวัฒนธรรมการใช้วัสดุทองเหลืองต่าง ๆ ขึ้นมาเผยแพร่พร้อมกันอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการสร้างเครื่องใช้ไม้สอยใน[[ยุคยะโยะอิยาโยอิ|สมัยยะโยะอิยาโยอิ]]ขึ้นในช่วงนี้ด้วย
 
และเมื่อประมาณ 1,600 ปีก่อน ก็ได้เริ่มมีการสร้างหลุมศพแบบสมัยโบราณขึ้นมา ซึ่งมีหลุมศพขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างขึ้นมา 9 แห่ง และ 1 ในนั้นก็มีความสำคัญต่อการศึกษาวัฒนธรรมในสมัยนั้นอย่างมาก หลุมศพสมัยโบราณที่ถูกสร้างขึ้นในเมืองไซตามะ
 
เมื่อถึง[[ยุคนะนาระ|สมัยนะนาระ]] ได้มีการร่างกฎหมายและมีการทำสำมะโนประชากรขึ้น มีการมอบพื้นที่ในการทำกสิกรรมให้กับพลเรือนและมีการเก็บภาษีจากพลเมืองอีกด้วย ในสมัยเฮอันที่พวกราชวงศ์และขุนนางอาศัยกันอยู่อย่างหรูหราในเมืองหลวง พื้นที่ห่างไกลอย่างไซตามะก็มีพวกนักรบขึ้นมาครองอำนาจครอบครองและมีบทบาทอย่างมาก [[ยุคคะมะกุคามากูระ|สมัยคะมะกุคามากูระ]]นั้น ก็มีนักรบหลายคนขึ้นครองอำนาจในเขตต่าง ๆ ของเมืองไซตามะด้วย
 
เมื่อถึง[[ยุคเอะโดะเอโดะ|สมัยเอะโดะเอโดะ]] มีการพัฒนาเมืองเอะโดะขนานใหญ่เอโดะขนานใหญ่ ทำให้จังหวัดไซตามะได้รับการพัฒนาขึ้น มีถนนใหญ่หลายสายตัดผ่านมาและมีการวางท่อชลประทานขนาดใหญ่มากมายด้วย โดยในสมัยนั้นได้พัฒนาพื้นที่เขตคันโตโดยยึดไซตามะเป็นแกนกลางสำคัญในการพัฒนา
 
จนเมื่อรัฐบาลโตกุกาโทกูงาวะล่มสลายลง การปกครองภายในจังหวัดก็เกิดการเปลี่ยนแปลง จนมีการจัดตั้ง "จังหวัดไซตามะ" ขึ้นเมื่อปีเมจิที่ 4 แต่ก็มีเมืองที่ขึ้นอยู่กับจังหวัดไม่มาก จนในช่วงหลังสงครามโลกก็ได้รวบรวมเมืองต่าง ๆ ขึ้นมาจนเป็นจังหวัดในปัจจุบันได้
 
 
บรรทัด 108:
** ตำบลโองาโนะ ({{ญี่ปุ่น|小鹿野町|Ogano-machi}})
** หมู่บ้านฮิงาชิจิจิบุ ({{ญี่ปุ่น|東秩父村|Higashichichibu-mura}})
{{col-break}}
* อำเภอมินามิไซตามะ ({{ญี่ปุ่น|南埼玉郡|Minamisaitama-gun}})
** ตำบลมิยาชิโระ ({{ญี่ปุ่น|宮代町|Miyashiro-machi}})
{{col-break}}
* อำเภออิรูมะ ({{ญี่ปุ่น|入間郡|Iruma-gun}})
** ตำบลมิโยชิ ({{ญี่ปุ่น|三芳町|Miyoshi-machi}})
บรรทัด 125:
** ตำบลโองาวะ ({{ญี่ปุ่น|小川町|Ogawa-machi}})
** ตำบลฮาโตยามะ ({{ญี่ปุ่น|鳩山町|Hatoyama-machi}})
{{col-end}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 135 ⟶ 136:
{{จังหวัดไซตะมะ}}
 
[[หมวดหมู่:จังหวัดไซตะตามะ| ]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดในประเทศญี่ปุ่น|ไซตามะ]]
{{โครงประเทศ}}