ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาร้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7818827 สร้างโดย 223.24.188.8 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 24:
 
ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไปจะให้รสชาติที่ดี ถ้าปลาช่อนตัวใหญ่อาจต้องใช้เวลาถึงหนึ่งปี ไม่ต้องพะวงกับเชื้อโรคในปลาร้า เพราะนักโภชนาการเชื่อว่า เกลือในปริมาณที่พอเหมาะมากพอจะทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ ทำให้อาหารบูดเน่าได้ ดังนั้นถ้าปลาร้าที่ทำจากปลาที่ล้างสะอาด สด ใช้เกลือสินเธาว์และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมจะทำให้ได้ปลาร้าที่มีคุณภาพดี จากการศึกษาวิจัยยังพบอีกว่า ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไป พยาธิใบไม้ตับ จะตายหมดไม่สามารถติดต่อมายังคนได้ไม่ว่าจะรับประทานปลาร้าดิบหรือสุกก็ตาม
 
== ปลาร้าเลสาบ ==
นอกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ทางภาคใต้มีปลาร้าที่เป็นเอกลักษณ์ของตนโดยเฉพาะเรียกปลาร้าเลสาบ นิยมทำในบริเวณ[[ทะเลสาบสงขลา]] ปลาที่นิยมทำคือ[[ปลาดุก]] การทำปลาร้าแบบภาคใต้นี้ จะหมักปลากับเกลือและน้ำตาลโตนด 1 คืน แล้วนำไปตากแดด 2-3 วัน จึงรับประทานได้ <ref>อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบ. 2551. หน้า 32-33</ref>
 
== ปลาร้ามอญ ==
เส้น 29 ⟶ 32:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commonscat|Pla ra|ปลาร้า}}
{{วิกิตำรา}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อาหารไทย}}
{{มรดกภูมิปัญญาชาติ/ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาร้า"