ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอดส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนก่อกวน
บรรทัด 84:
* '''การมีเพศผสมพันธ์''' เกิดขึ้นได้ทั้งการมีเพศสัมพันธ์กับ[[รักเพศเดียวกัน|เพศเดียวกัน]] และกับ[[รักต่างเพศ|เพศตรงข้าม]]
* '''การรับเลือดและองค์ประกอบของเลือด''' การปลูกถ่ายอวัยวะรวมทั้งไขกระดูกและน้ำอสุจิที่ใช้ผสมเทียมซึ่งมีเชื้อ แต่ในปัจจุบันปัญหานี้ได้ลดลงไปจนเกือบหมด เนื่องจากมีการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีในผู้บริจาคเหล่านี้ รวมทั้งคัดเลือกกลุ่มผู้บริจาคซึ่งไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ไม่รับบริจาคเลือดจากผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้น เป็นต้น
* '''การใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาแสบแตดร่วมกัน''' และของมีคมที่สัมผัสเลือด
* '''จากมารดาสู่ทารก''' ทารกมีโอกาสรับเชื้อได้หลายระยะ ได้แก่ เชื้อไวรัสแพร่มาตามเลือดสายสะดือสู่ทารกในครรภ์ ติดเชื้อขณะคลอด จากเลือดและเมือกในช่องคลอด ติดเชื้อในระยะเลี้ยงดูโดยได้รับเชื้อจากน้ำนม จะเห็นได้ว่าวิธีการติดต่อเหล่านี้เหมือนกับไวรัสตับอักเสบบีทุกประการ ดังนั้นถ้าไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ก็จะไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ด้วย
 
== การวินิจฉัย ==
การวินิจฉัยโรคเอดส์ในผู้ติดเชื้อเอชไอวีทำได้โดยดูว่าผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงตามที่กำหนดหรือไม่ ตั้งแต่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1981 มีการให้คำนิยามของเอดส์หลายคำนิยามใช้เพื่อจัดตั้งการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดอย่าง[[Bangui definition|บทนิยาม Bangui]] (Bangui definition) และ[[1994 expanded World Health Organization AIDS case definition|บทนิยามผู้ป่วยเอดส์โดยองค์การอนามัยโลก ฉบับเพิ่มเติม ค.ศ. 1994]] (1994 expanded World Health Organization AIDS case definition) อย่างไรก็ดีเป้าหมายของระบบเหล่านี้ไม่ใช่เพื่อการแบ่งแยกระดับทางคลินิกของผู้ป่วยเอดส์ และก็ไม่มี[[ความไว]] (sensitive) หรือ[[ความจำเพาะ]] (specific) แต่อย่างใดด้วย สำหรับใน[[ประเทศกำลังพัฒนา]]นั้น[[องค์การอนามัยโลก]]ได้สร้างระบบแบ่งระดับผู้ติดเชื้อเอชไอวีตามอาการทางคลินิกและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ส่วนใน[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]จะใช้ระบบจำแนกประเภทของศูนย์ควบคุมโรค (Centers for Disease Control - CDC)
 
=== ระบบการแบ่งระยะเอดส์ขององค์การอนามัยโลก ===
{{บทความหลัก|ระบบการแบ่งระยะโรคติดเชื้อเอชไอวีโดยองค์การอนามัยโลก}}
เส้น 223 ⟶ 224:
เชื้อเอชไอวี ติดต่อกันได้สามวิธีหลักๆ คือการมีเพศสัมพันธ์ การสัมผัสสารคัดหลั่งหรือเนื้อเยื่อ และจากมารดาไปสู่ทารกปริกำเนิด นอกจากนี้ยังอาจพบเชื้อได้ใน[[น้ำลาย]] [[น้ำตา]] และ[[ปัสสาวะ]]ของผู้ติดเชื้อ แต่ยังไม่มีรายงานการติดเชื้อ ความเสี่ยงของการติดเชื้อผ่านการสัมผัสสารคัดหลั่งเหล่านี้อาจถือได้ว่าไม่มี<ref>{{cite web | url=http://www.avert.org/aids.htm | publisher=avert.org | title=Facts about AIDS & HIV | accessdate=2007-11-30 }}</ref>
 
=== การมีเพศสัมพันธ์ ===
การติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่เกิดจากการมี[[เพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน]]ระหว่างคู่นอนที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีเชื้อเอชไอวี การติดต่อของเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่ในโลกเป็นการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ระหว่างเพศชายและหญิง<ref>{{ cite journal | author=Johnson AM, Laga M | title=Heterosexual transmission of HIV | journal=AIDS | year=1988 | pages=S49–S56| volume=2 | issue=suppl. 1 | pmid=3130121 | doi=10.1097/00002030-198800001-00008 | pmc=2545554 }}</ref><ref>{{ cite journal | author=N'Galy B, Ryder RW | title=Epidemiology of HIV infection in Africa | journal=Journal of Acquired Immune Deficiency Syndromes | year=1988 | pages=551–558 | volume=1 | issue=6 | pmid=3225742 }}</ref><ref>{{ cite journal | author=Deschamps MM, Pape JW, Hafner A, Johnson WD Jr. | title=Heterosexual transmission of HIV in Haiti | journal=Annals of Internal Medicine | year=1996 | pages=324-330 | volume=125 | issue=4 | pmid=8678397 }}</ref>
 
เส้น 233 ⟶ 234:
 
ผู้เชี่ยวชาญบางคนเกรงว่าความรู้สึกว่ามีความปลอดภัยมากขึ้นที่ได้รับจากการขลิบอวัยวะเพศอาจทำให้ผู้รับการขลิบมีพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศมากขึ้น ทำให้เป็นการลดผลการป้องกันโรคที่มี<ref>{{cite journal |author=Eaton LA, Kalichman S |title=Risk compensation in HIV prevention: implications for vaccines, microbicides, and other biomedical HIV prevention technologies |journal=Curr HIV/AIDS Rep |volume=4 |issue=4 |pages=165–72 |year=2007 |month=December |pmid=18366947 |doi=10.1007/s11904-007-0024-7}}</ref> อย่างไรก็ดีมีการศึกษาแบบ randomized controlled trial ชิ้นหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าการขลิบในชายวัยผู้ใหญ่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ<ref>{{cite journal |last=Mattson |first=C.L. | coauthors=R.T. Campbell, R.C. Bailey, K. Agot, J.O. Ndinya-Achola, S. Moses |title=Risk compensation is not associated with male circumcision in Kisumu, Kenya: a multi-faceted assessment of men enrolled in a randomized controlled trial |journal=PLoS One |volume=3 |issue=6 |pages=e2443 |year=2008 |month=June 18 |pmid=18560581 |doi=10.1371/journal.pone.0002443 |pmc=2409966}}</ref>
 
 
=== การสัมผัสกับสารคัดหลั่งที่มีเชื้อ ===
บรรทัด 252:
| accessdate = 2006-09-01
}}</ref>
 
=== ยาต้านไวรัส ===
ปัจจุบันการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีทำได้โดยการให้[[antiretroviral|ยาต้านไวรัส]]ด้วยวิธี [[highly active antiretroviral therapy]] หรือ HAART<ref name=DhhsHivTreatment>{{cite web
เส้น 437 ⟶ 438:
 
การระบาดทั่วของเอดส์ใน Sub-Saharan Africa ยังเป็นพื้นที่ที่มีความรุนแรงมากที่สุดอยู่จนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2550 มีผู้ป่วยเอดส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ 68% ของทั้งโลก และมีผู้เสียชีวิตจากเอดส์ 76% ของทั้งโลก
 
=== สถานการณ์เอดส์ในประเทศไทย ===
ศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค รายงานว่า กลุ่มอายุ 30 - 34 ปี มีผู้ป่วยสูงสุด (ร้อยละ 25.86) รองลงมาได้แก่ อายุ 25 - 29 ปี โดยพบว่า กลุ่มอายุต่ำสุด คือ กลุ่มอายุเพียง 10-14 ปี (ร้อยละ 0.29) เมื่อจำแนกตามอาชีพ พบว่า อาชีพรับจ้าง เป็นกลุ่มที่เป็นเอดส์มากที่สุด รองลงมา คือ เกษตรกรรม, ว่างงาน, ค้าขาย และแม่บ้าน
เส้น 443 ⟶ 445:
 
ส่วนเชื้อฉวยโอกาส ที่สามารถตรวจพบในผู้ป่วยเอดส์มากที่สุด ได้แก่ เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดวัณโรค นั่นเอง
 
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ที่มาของเอดส์}}
เส้น 550 ⟶ 553:
== สังคมและวัฒนธรรม ==
{{โครง-ส่วน}}
 
 
=== ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== เอดส์กับศาสนา ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== แนวคิดปฏิเสธเอดส์ ===
{{บทความหลัก|แนวคิดปฏิเสธเอดส์}}
เส้น 588 ⟶ 592:
}}
* {{cite journal |author=O'Brien SJ, Goedert JJ |title=HIV causes AIDS: Koch's postulates fulfilled |journal=Curr. Opin. Immunol. |volume=8 |issue=5 |pages=613–8 |year=1996 |pmid=8902385 |doi=10.1016/S0952-7915 (96) 80075-6}}
* {{cite journal |author=Galéa P, Chermann JC |title=HIV as the cause of AIDS and associated diseases |journal=Genetica |volume=104 |issue=2 |pages=133-42 |year=1998 |pmid=10220906 |doi=10.1023/A:1003432603348}}</ref> แต่ก็ยังมีการกระจายความเชื่อเช่นนี้อยู่ทั่วไปใน[[อินเทอร์เน็ต]]<ref>{{cite journal |author=Smith TC, Novella SP |title=HIV denial in the Internet era |journal=PLoS Med. |volume=4 |issue=8 |pages=e256 |year=2007 |pmid=17713982 |doi=10.1371/journal.pmed.0040256 |pmc=1949841}}</ref> และนำไปสู่ผลกระทบทางนโยบายในบางประเทศ อดีตประธานาธิบดี[[แอฟริกาใต้]] Thabo Mbeki ได้ยอมรับเอาแนวคิดปฏิเสธเอดส์มาใช้และนำไปสู่การตอบสนองอย่างไม่มีประสิทธิภาพของรัฐบาลต่อการระบาดของเอดส์ที่ทำให้มีผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตนับแสนคน.<ref name="chigwedere">{{cite journal |author=Chigwedere P, Seage GR, Gruskin S, Lee TH, Essex M |title=Estimating the Lost Benefits of Antiretroviral Drug Use in South Africa |journal=Journal of acquired immune deficiency syndromes (1999) |year=2008 |month=October |pmid=18931626 |doi=10.1097/QAI.0b013e31818a6cd5 |laysummary=http://www.hsph.harvard.edu/news/press-releases/2008-releases/researchers-estimate-lives-lost-delay-arv-drug-use-hivaids-south-africa.html |volume=49 |pages=410}}</ref><ref>{{cite journal |author=Baleta A |title=S Africa's AIDS activists accuse government of murder |journal=Lancet |volume=361 |issue=9363 |page=1105 |year=2003 |pmid=12672319 |doi=10.1016/S0140-6736 (03) 12909-1}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[เอชไอวี]]
* [[รายชื่อประเทศตามจำนวนผู้ป่วยโรคเอดส์]]
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Medical resources
เส้น 605 ⟶ 610:
| MeshID = D000163
}}
 
== อ้างอิง ==
* [http://203.157.15.4/index.php?send=aidsdata สถานการณ์ผู้ป่วยเอดส์ โดยศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค]
เส้น 610 ⟶ 616:
{{รายการอ้างอิง|2}}
</div>
 
{{เอดส์}}
[[หมวดหมู่:เอดส์| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เอดส์"