ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอทีวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 7599207 สร้างโดย 119.76.4.11 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 170:
[[คณะกรรมการกฤษฎีกา]] มีมติเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ตีความข้อกฎหมายในกรณีดังกล่าวว่า [[กรมประชาสัมพันธ์]] สามารถดำเนินการออกอากาศโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟต่อเนื่องไปได้ หลังจากนั้น ศาลปกครองมีคำวินิจฉัยให้คุ้มครองฉุกเฉินสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ให้สามารถออกอากาศต่อไปอย่างต่อเนื่องเช่นกัน
 
หลังจากการที่ถูก สปน.บอกเลิกสัญญาสัมปทานว่าด้วยการบริหารกิจการสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟไปแล้วนั้น ทำให้ปัจจุบัน บริษัทฯ ไม่ได้ประกอบธุรกิจหรือกิจการใดๆ​เลยทั้งสิ้น ส่วนในด้านของกิจการสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟ คือสถานีโทรทัศน์ไอทีวีนั้น ก็ได้โอนกิจการย้ายไปสังกัดที่[[กรมประชาสัมพันธ์]] ในวันที่ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] และ [[องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย]] ในวันที่ [[15 มกราคม]] [[พ.ศ. 2551]] ตามลำดับ (ผลที่ตามมาก็คือสถานีโทรทัศน์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ''สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี'' และในปัจจุบันก็คือใช้ชื่อว่า ''สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส'')
นอกเหนือจากนี้แล้ว เมื่อวันที่ [[24 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2557]] คณะกรรมการ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] ได้มีมติให้เพิกถอนหุ้นสามัญของบริษัทฯที่เคยทำการซื้อขาย ออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำให้บริษัทฯต้องพ้นจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ดังกล่าว<ref>[https://www.intouchcompany.com/download/Annual%20Report%20CG/ITVAnnual%20Report2017_th.pdf รายงานประจำปี 2559 ของบริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน)]โปรดอ่านรายละเอียดได้ที่หน้า 3 เมื่อใช้กับ PDF (หน้า 1 ของเล่มจริง)</ref>
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไอทีวี"