ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยเชื้อสายจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ตามสากล
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox Ethnic group
| group = ชาวไทยเชื้อสายจีน<br />''泰國華人''
| image = [[ไฟล์:Yaowaraj.jpg|300px]]
| caption = ถนนเยาวราช ศูนย์รวมชาวไทยเชื้อจีน
| poptime = ประมาณ '''10,380349,000900 '''<br>ชาวไทยที่สืบเชื้อสายจีนโดยตรง (คิดเป็นร้อยละ 15 ของประชากรไทย)<ref name="West794">{{citation |author=Barbara A. West |title=Encyclopedia of the Peoples of Asia and Oceania |publisher=Facts on File |year=2009 |page=794|isbn=1438119135}}</ref><br>
มากถึง '''4132,000,000'''<br>ชาวไทยที่มีเชื้อสายจีนบางส่วน (ประมาณร้อยละ 6050 ของประชากรไทย) (2012)<ref name="Theraphan">{{Cite journal |author=Theraphan Luangthomkun |title=The Position of Non-Thai Languages in Thailand |work=Language, Nation and Development in Southeast Asia |publisher=ISEAS Publishing |year=2007 |page=191 |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}}}}</ref>
| popplace = {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| langs = [[ภาษาไทย]]<br>
บรรทัด 62:
ชาวจีนเริ่มเดิน[[เรือสำเภา]]มาค้าขายใน[[ดินแดนสุวรรณภูมิ]]ตั้งแต่ก่อนสมัย[[อาณาจักรสุโขทัย]] แต่หลักฐานที่ชัดเจนที่สุดคือ เมื่อชาวจีนมาสอนการทำเครื่องถ้วยชาม โดยเฉพาะเครื่อง[[สังคโลก]]
 
=== สมัยกรุงศรีอยุธยา ===
ชาวจีนได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่มาก โดยส่วนมากจะมาจากตอนใต้ของประเทศจีน เพื่อมาตั้งรกรากและทำการค้า
 
=== สมัยกรุงธนบุรี ===
เมื่อครั้งเสีย[[อาณาจักรอยุธยา|กรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2]] ในปี [[พ.ศ. 2310]] จนถึงปี [[พ.ศ. 2312]] จักรวรรดิจีนได้ถูกรุกรานโดย[[พม่า]]ที่กำลังขยายแสนยานุภาพ จักรพรรดิจีนในสมัยนั้นได้ส่งกองกำลังไปปราบปรามพม่าถึง 4 ครั้งแต่ก็ไม่สำเร็จ แต่ฝ่ายจีนก็ได้เบนความสนใจมาที่กองทัพพม่าใน[[อาณาจักรอยุธยา]] ซึ่งกำลังถูกพม่ายึดครอง ขุนพลไทยนาม "สิน" ซึ่งมีบิดาเป็นคนจีน และมารดานาม นกเอี้ยง ซึ่งเป็นชาว[[สยาม]] ได้ใช้สถานการณ์ที่ได้เปรียบนี้ทำให้สามารถกอบกู้เอกราชให้[[สยาม]]ได้สำเร็จ ขุนพลท่านนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แห่งกรุงธนบุรี หรือที่ชาวจีนขนามนามว่า แต้อ๊วง ด้วยความที่ว่าบิดาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เป็นคนจีน
 
เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ทรงขึ้นครองราชย์แล้ว ชาวจีนแต้จิ๋วได้เข้ามาทำการค้า และ[[อพยพ]]มายัง[[กรุงธนบุรี]]เป็นจำนวนมาก ทำให้ประชากร[[ชาวจีนโพ้นทะเล]]ในไทย เพิ่มขึ้นจาก 230,000 คนใน พ.ศ. 2368 เป็น 792,000 คนใน พ.ศ. 2453 และใน พ.ศ. 2475 ประชากรไทยถึง 12.2% เป็นชาวจีนโพ้นทะเล]
 
=== สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ===
การอพยพของชาวจีนยุคแรก ส่วนมากเป็นผู้ชาย เมื่อเข้ามาตั้งรกรากแล้วก็จะแต่งงานกับผู้หญิงไทย และกลายเป็นค่านิยมในสมัยนั้น ลูกหลานจากการแต่งงานข้ามเชื้อชาตินี้เรียกว่า "ลูกจีน" แต่ในสมัย[[กรุงรัตนโกสินทร์]]นี้ กระแสการอพยพเริ่มเปลี่ยนไป ผู้หญิงจีนอพยพเข้ามาใน[[สยาม]]มากขึ้น จึงทำให้การแต่งงานข้ามเชื้อชาติลดลง
 
บรรทัด 171:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ภาษาในประเทศไทย]] - ในประเทศไทยมีผู้ใช้ภาษาจีนแต้จิ๋ว ประมาณ 1 ล้านคน{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== อ่านเพิ่ม ==
== Further reading==
* Skinner, G. William. ''Chinese Society in Thailand, an Analytic History''. Ithaca ([[:en:Cornell University Press|Cornell University Press]]), 1957.
* Skinner, G. William. ''Leadership and Power in the Chinese Community in Thailand''. Ithaca (Cornell University Press), 1958.