ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาวุธนิวเคลียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
งูมาฃองพี่ก็ฝงึวชขฃลงวงฃลงลงฃชฃ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Nagasakibomb.jpg|thumbnail|250px|[[เมฆรูปเห็ด]]สูง 18 กิโลเมตร ที่เกิดจากอาวุธนิวเคลียร์ ที่ถล่ม[[ฮิโรชิมา|เมืองฮิโรชิมา]]และ[[นางาซากิ]]ของ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลาย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]]]
 
'''อาวุธนิวเคลียร์''' เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจาก[[ปฏิกิริยานิวเคลียร์]] ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยา[[ฟิชชัน]](atomic bomb)อย่างเดียว หรือ [[อาวุธเทอร์โมฃวดลชฃลชฃขฃนิวเคลียร์นิวเคลียร์|ฟิชชันและฟิวชัน]]([[อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์|hydrogen bomb]])รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับ[[ทีเอ็นที]]ประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบ[[อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์|ระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์]] ("[[อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์|ระเบิดไฮโดรเจน]]") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน
 
[[อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์]]สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้ฃงลงลขลฃลงงงวงวลฃลงฃฃชขฃฃชฃชเกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามระเบิดทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็น[[อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง]] และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น
 
มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 วัตถุประเภทจุดระเบิดยูเรเนียม (uranium gun-type) ชื่อรหัสว่า "[[ลิตเติลบอย]]" ถูกจุดระเบิดเหนือนคร[[ฮิโรชิมา]]ของญี่ปุ่น อีกสามวันให้หลัง วันที่ 9 สิงหาคม วัลงงลฃลฝขฃลฃฃงฃเงงลงฃฃลลฃงลถุวัตถุประเภทจุดระเบิดภายในพลูโตเนียม (plutonium implosion-type) ชื่อรหัสว่า "[[แฟตแมน]]" ระเบิดเหนือนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น การทิ้งระเบิดทั้งสองลูกส่งผลให้ชาวญี่ปุ่นเสียชีวิตไปประมาณ 200,000 ศพ ส่วนใหญ่เป็นพลเรือน จากการบาดเจ็บฉับพลันที่ได้รับจากการระเบิด<ref>{{cite web |url = http://www.rerf.or.jp/general/qa_e/qa1.html |title = Frequently Asked Questions #1 |publisher=[[Radiation Effects Researลบงงงch Foundation]] | accessdate = Sept. 18, 2007}}</ref>
 
นับแต่การทิ้งระเบิดฮิโรชิมาและนางาซากิ อาวุธนิวเคลียร์ถูกจุดระเบิดกว่าสองพันโอกาสเพื่อจุดประสงค์ด้านการทดสอบและสาธิต มีเพียงไม่กี่ชาติที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์หรือถูกสงสัยว่ากำลังแสวงหาอาวุธนิวเคลียร์ ประเทศที่ทราบว่าเคยจุดระเบิดอาวุธนิวเคลียร์ และได้รับการรับรองว่าครอบครองอาวุธนิวเคีลยร์ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต (รัสเซียเป็นผู้สืบทอดอำนาจนิวเคลียร์) สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ปากีสถาน และเกาหลีเหนือ นอกเหนือจากนี้ อิสราเอลยังถูกเชื่ออย่างกว้างขวางว่าครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ แต่ไม่ได้รับการรับรองว่ามี<ref name="nuclearweapons1">{{cite web|url=http://fas.org/issues/nuclear-weapons/status-world-nuclear-forces/ |title=Federation of American Scientists: Status of World Nuclear Forces |publisher=Fas.org |date= |accessdate=2015-09-21}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.fas.org/nuke/guide/israel/nuke/index.html |title=Nuclear Weapons – Israel |publisher=Fas.org |date=Jan 8, 2007 |accessdate=2010-12-15}}</ref> รัฐหนึ่ง [[แอฟริกาใต้]] เคยยอมรับว่ามีอาวุธนิวเคลียร์ที่ทำขึ้นก่อนหน้านี้ในอดีต แต่นับแต่นั้นได้แยกประกอบคลังแสงของตนและส่งให้กับผู้คุ้มครองนานาชาติ<ref>{{cite web|url=http://www.fas.org/nuke/guide/rsa/nuke/index.html |title=Nuclear Weapons – South Africa |publisher=Fas.org |date=May 29, 2000 |accessdate=2011-04-07}}</ref>