ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แวร์เนอร์ ฟ็อน บล็อมแบร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "บลอมแบร์ก" → "บลอมแบร์ค" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{Infobox military person
|name=แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กบลอมแบร์ค
|image=[[ไฟล์:VonBlomBerg BundesArchive ReColoured.jpg|200px]]
|image_size=240px
|alt=''จอมพล'' แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กบลอมแบร์ค ในปี 1934
|caption=แวร์เนอร์ ฟอน บลอมแบร์กบลอมแบร์ค ในปี 1934
|birth_name= แวร์เนอร์ เอดวร์ด ฟริทซ์ ฟอน บลอมแบร์กบลอมแบร์ค
|birth_date=2 กันยายน ค.ศ. 1878
|death_date={{death date and age|1946|3|14|1878|9|2|df=y}}
บรรทัด 21:
|laterwork=}}
 
'''แวร์เนอร์ เอดวร์ด ฟริทซ์ ฟอน บลอมแบร์กบลอมแบร์ค''' ({{lang-de|Werner Eduard Fritz von Blomberg}}) เป็น[[จอมพล]]เยอรมัน รัฐมนตรีว่าการสงครามแห่งไรช์และผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพเยอรมันจนถึงค.ศ. 1938
 
เขาเข้าร่วมกองทัพเยอรมันในปี 1897 หลังจบหลักสูตรจากวิทยาลัยการทหารปรัสเซียในปี 1907 เขาก็ได้ขึ้นเป็นนายพลในปี 1908 และได้เข้าร่วมแนวรบด้านตะวันตกในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]และได้รับเหรียญ[[Pour le Mérite|ปัวร์เลอแมริท]] เขาได้ไปเยือนสหภาพโซเวียตในปี 1928 และมีความประทับใจในศักยภาพของ[[กองทัพแดง]]อย่างมาก เขาเริ่มมีความเชื่อในระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จว่าจะนำมาซึ่งแสนยานุภาพทางการทหารที่แข็งแกร่ง<ref>{{cite book |last=Wheeler-Bennett |first=John |year=1967 |title=The Nemesis of Power: The German Army in Politics 1918–1945 |location=London |publisher=Macmillan |pp=295–6 |ref=harv }}</ref> เขาเชื่อว่าสงครามโลกครั้งต่อไปจะเป็น[[สงครามเบ็ดเสร็จ]] และระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จคือทางออกที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในเตรียมพร้อมด้านการทหาร เศรษฐกิจ และสังคมเยอรมันในยามก่อนสงครามปะทุ<ref name="Paehler 2009">{{cite web | last = Paehler | first = Katrin| title = General ohne Eigenschaften? | work =| publisher = H-Net Online|date=June 2009| url = http://www.h-net.org/reviews/showrev.php?id=24691 | doi = | accessdate = 2013-05-05}}</ref>
บรรทัด 27:
ในปี 1933 เขาได้แต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรี[[กระทรวงไรชส์เวร์]]ในคณะรัฐมนตรี[[ฮิตเลอร์]]และกลายเป็นหนึ่งในบุคคลที่อุทิศตัวให้ฮิตเลอร์มากที่สุด เขาเสริมสร้างและขยายกองทัพเยอรมัน เขาเป็นนายทหารที่ประธานาธิบดี[[เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก|ฮินเดนบูร์ก]]ไว้วางใจให้ดูแลงานด้านกลาโหมและฮินเดนบูร์กหวังว่าเขาจะเข้ากันได้ดีกับฮิตเลอร์{{sfn|Wheeler-Bennett|1967|p=297}}
 
ในปี 1935 กระทรวงไรชส์เวร์ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงการสงคราม และได้ควบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารเหล่าทัพ[[เวร์มัคท์]] (''Oberbefehl über die gesamte Wehrmacht'') และในปี 1936 บลอมแบร์กบลอมแบร์คเป็นนายทหารคนแรกที่ฮิตเลอร์แต่งตั้งให้เป็นจอมพล อย่างไรก็ตาม ในปี 1937 เขาเป็นหนึ่งในนายทหารไม่กี่คนที่วิจารณ์แผนการทำสงครามฮิตเลอร์ว่าไม่ควรจะเลยไปจากปี 1942 ทำให้ฮิตเลอร์เริ่มไม่พอใจในตัวบลอมแบร์กบลอมแบร์ค ซึ่งทำให้สองคนสนิทของฮิตเลอร์อย่าง [[แฮร์มันน์ เกอริง]] ซึ่งเป็นผู้บัญชาการ[[ลุฟท์วัฟเฟอ]] กับ[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]] ซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วย[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล|เอ็สเอ็ส]]และตำรวจเยอรมัน ได้ใช้โอกาสนี้เพื่อขจัดบลอมแบร์กบลอมแบร์คให้พ้นทาง ในงานแต่งของบลอมแบร์กแบร์คกับแฟนสาว เกอริงได้บอกกับฮิตเลอร์ในงานแต่งว่า แฟนสาวของบลอมแบร์กแบร์คและมารดาของเธอนั้นมีประวัติเป็นหญิงขายบริการ ฮิตเลอร์ขอร้องบลอมแบร์กบลอมแบร์คล้มเลิกการแต่งงานเพื่อรักษาหน้าของกองทัพ บลอมแบร์กบลอมแบร์คปฏิเสธที่จะหย่ากับเธอ เกอริงจึงปูดประวัติของภรรยาบลอมแบร์กบลอมแบร์คให้สาธารณะรับรู้ บลอมแบร์กบลอมแบร์คถูกกดดันให้ลาออกจากทุกตำแหน่งในกองทัพ และฮิตเลอร์ก็แต่งตั้งให้เกอริงดูแลการทหารทั้งหมดในไรช์ในปี 1938
 
หลังลาออก บลอมแบร์กบลอมแบร์คได้ไปฮันนีมูนกับภรรยาใหม่ที่เกาะ[[กาปรี]]ในอิตาลี แต่พลเรือเอก[[แอริช แรเดอร์]] มองว่าบลอมแบร์กบลอมแบร์คควรจะฆ่าตัวตายเพื่อเป็นการชดใช้การแต่งงานของเขา แรดเดอร์ส่งผู้พันวันเกนไฮม์ (Wangenheim) ไปอิตาลีเพื่อกดดันให้บลอมแบร์กบลอมแบร์คฆ่าตัวตายแต่ก็ไม่สำเร็จ วันเกนไฮม์ถึงขนาดยัดปืนใส่มือของบลอมแบร์กแต่บลอมแบร์กแบร์คแต่บลอมแบร์คก็ปฏิเสธที่จะฆ่าตัวตายและขอใช้ชีวิตอย่างสงบ<ref>Shirer, William ''The Rise and Fall of the Third Reich'', New York: Simon & Schuster, 1960, p. 314.</ref>
 
ปลาย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในปี 1945 บลอมแบร์กบลอมแบร์คถูกควบคุมตัวโดยกองกำลัง[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] เขาร่วมให้การใน[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก]]ในฐานะพยานซึ่งทำให้ถูกอดีตนายพลเพื่อนร่วมงานที่ตกเป็นจำเลยดูถูกเหยียดหยามนอกจากนี้ยังถูกภรรยาบอกเลิก ระหว่างที่ถูกกักบริเวณใน[[เนือร์นแบร์ก]]นั้นสุขภาพเขาก็ย่ำแย่ลงอย่างรวดเร็ว เขาตรวจพบ[[มะเร็งลำไส้ใหญ่]]ในเดือนกุมภาพันธ์ 1946{{sfn|Schäfer|2006|pp=200, 206-7}} และเสียชีวิตในวันที่ 14 มีนาคม 1946 ร่างของเขาถูกฌาปนกิจโดยไม่มีพิธีใดๆที่ชานเมืองเนือร์นแบร์ก ต่อมาได้มีการขุดเถ้าของเขาและนำไปเก็บรักษาไว้ที่บ้านของเขาในเมืองบาทวีซเซ (Bad Wiessee)
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 51:
|ก่อนหน้า = [[คูร์ท ฟอน ชไลเชอร์]] <br> {{small|(ในตำแหน่งรัฐมนตรี[[กระทรวงไรชส์เวร์]])}}
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[วิลเฮล์ม ไคเทิล|จอมพล วิลเฮล์ม ไคเทิล]] <br> {{small|(ในตำแหน่งหัวหน้า[[กองบัญชาการสูงสุดใหญ่แห่งเวร์มัคท์]])}}
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = ค.ศ. 1933 - 1938