ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุคคามากูระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
Pastman ย้ายหน้า ยุคคะมะกุระ ไปยัง ยุคคามากูระ: ตามหลักทับศัพท์
Pastman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ใช้ปีคศ}}
{{ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น|Kamakura Budda Daibutsu front 1885.jpg|200px|หลวงพ่อโตคะมะกุคามากูระ หรือ [[คะมะกุคามากูระไดบุซึ]]ในเมืองคะมะกุคามากูระ}}
'''ยุคคะมะกุคามากูระ''' ({{ญี่ปุ่น|鎌倉時代|Kamakura-jidai}}) หรือ อ่านแบบไทย '''คะมะกุคามากูระ''' ตรงกับปี[[ค.ศ. 1185]]-[[ค.ศ. 1333]] เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า [[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ|คะมะกุระ บะกุฟุ]] ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร [[มินะโมะโตะนาโมโตะ โนะ โยะริโตะโมะโยริโตโมะ]] ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมือง[[คะมะกุคามากูระ]] ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุคามากูระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ [[กุบไลข่าน]] ในสมัย [[ราชวงศ์หยวน]] ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี ค.ศ. 1274 และอีกครั้งในปี ค.ศ. 1281 แต่กองทัพมองโกลเข้าโจมตีญี่ปุ่นไม่สำเร็จเพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยกองทัพมองโกลได้รุกรานสู่ญี่ปุ่นโดยเข้าโจมตีภาคเหนือของเกาะ[[คีวชู]] กองทัพทหารได้ทำการต่อสู้ป้องกันอย่างเข้มแข็ง ประกอบกับภัยธรรมชาติเป็นส่วนช่วยเหลือ ญี่ปุ่นจึงรอดพ้นจากอันตรายมาได้ แต่นั่นก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเสื่อมอำนาจในการควบคุมชนชั้นนักรบของรัฐบาลทหารสงครามครั้งนี้ได้สร้างความอ่อนแอให้กับรัฐบาลทหารคะมะกุระอย่างมากส่วนความเจริญทางด้านวัฒนธรรมนั้น
 
วัฒนธรรมของชนชั้นนักรบได้ก่อกำเนิดขึ้นโดยมีวัฒนธรรมของชนชั้นปกครองเป็นรากฐาน แต่ยังคงเอกลักษณ์ของชนชั้นนักรบไว้ อันได้แก่ ความมีพลวัตร และการสะท้อน ความเป็นจริงอย่างเรียบง่าย ในด้านศาสนา พุทธศาสนาแบบคะมะคุระก็ได้กำเนิดขึ้นโดยพระเถระผู้มีชื่อเสียง อย่าง โฮเน็น (Hounen) ชินรัน (Shinran) และนิฉิเรน (Nichiren) เป็นต้น นักรบฝั่งที่ราบคันโตจะนับถือศาสนาเซนอันได้รับการถ่ายทอดจากจีนแผ่นดินซ้องในศตวรรษที่ 12 เป็นหลัก รูปแบบศิลปะใหม่ ๆ ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ อย่างเช่น ปฏิมากรรมสมัยคะมะคุระตอนต้นนั้น จะมีลายเส้นที่หนักแน่นมีพลังเหมือนของจริง และแสดงออกถึงความเป็นมนุษย์ วรรณศิลป์ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่ชนชั้นนักรบนิยม เช่น “เฮเคะ โมะโนะงะตะริโมโนงาตาริ (Heike Monogatari) ” ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อต้นศตวรรษที่ 13 เป็นผลงานที่ดีที่สุดในจำนวนนิยายเกี่ยวกับการสู้รบ และก็ยังมีหนังสือรวบรวมบทเรียงความเรื่อง “โฮโจกิ (Houjouki) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 13 และ “สึเระซุเระงุซะสึเรซูเรงูซะ (Tsurezuregusa) ” ซึ่งแต่งในศตวรรษที่ 14
 
== ประวัติศาสตร์ ==
===การจัดตั้งบะกุฟุบากูฟุ===
[[ไฟล์:AntokuTennou Engi.7&8 Dannoura Kassen.jpg|thumb|200px|left|ยุทธนาวีทังโนะอุระ]]
ในช่วงปลาย[[ยุคเฮอัง]]ราชสำนักญี่ปุ่นเมือง[[เกียวโต]]ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของ[[ตระกูลไทระ]]ซึ่งมีผู้นำคือ[[ไทระ โนะ คิโยะโมะริ]] ในค.ศ. 1180 เจ้าชายโมะชิฮิโตะได้ออกประกาศรณรงค์สงครามให้ซะมุไรตระกูลเซวะเง็นจิ ({{nihongo2|清和源氏|Seiwa Genji}}) หรือตระกูลมินะโมะโตะที่ยังคงหลงเหลืออยู่ทั่วญี่ปุ่น ลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองตระกูลไทระ เป็นจุดเริ่มต้นของ[[สงครามเก็มเป]] ({{nihongo2|源平合戦|Genpei kassen}}) [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ]] ({{nihongo2|源頼朝|Minamoto no Yoritomo}}) ด้วยความช่วยเหลือของ [[โฮโจ โทะคิมะซะ]] ({{nihongo2|北条時政|Hōjō Tokimasa}}) ตั้งตนเป็นใหญ่ในภูมิภาคคันโตทางภาคตะวันออกของญี่ปุ่น โดยมีฐานที่มั่นอยู่ที่เมือง[[คะมะกุคามากูระ]] ({{nihongo2|鎌倉|Kamakura}}) ในขณะเดียวกันในภาคตะวันตก[[มินะโมะโตะ โนะ โยะชิสึเนะ]] สามารถเอาชนะตระกูลไทระได้ใน[[ยุทธนาวีดังโนะอุระ]] ({{nihongo2|Dan-no-ura|壇ノ浦}}) ในค.ศ. 1185 ทำให้ตระกูลไทระต้องพบกับจุดจบลงและอำนาจในการปกครองย้ายมาอยู่ที่โยะริโตะโมะ ในค.ศ. 1189 โยะริโตะโมะทำ[[สงครามโอชู]] ({{nihongo2|奥州合戦|Ōshū-kassen}}) ต่อสู้กับตระกูลฟุจิวะระแห่งโอชูจนสามารถผนวกภูมิภาค[[โทโฮะกุ]]เข้ามาในการปกครองได้ในที่สุด ในค.ศ. 1192 โยะริโตะโมะได้รับการแต่งตั้งให้เป็น''เซอิไทโชกุน'' ({{nihongo2|征夷大将軍|Seii Taishōgun}})
 
สมัยคะมะคุระเป็นสมัยแรกที่นักรบหรือซะมุไร ({{nihongo2|侍|samurai}}) ขึ้นมากลายเป็นชนชั้นปกครองแทนที่พระจักรพรรดิและนักปราชญ์ที่เป็นพลเรือนดังที่เคยเป็นมาในยุคเฮอัง มีผู้นำของการปกครองคือโชกุนซึ่งอาศัยอยู่ที่เมืองคะมะกุระ หรือเรียกว่า คะมะกุคามากูระ-โดะโนะโดโนะ ({{nihongo2|鎌倉殿|Kamakura-dono}}) มีอำนาจเสมอเหมือนเป็นเจ้าผู้ปกครองญี่ปุ่นแทนที่พระจักรพรรดิ สถานที่จัดการปกครองไม่มีความหรูหราเช่นเกียวโตทำให้ศูนย์การปกครองที่คะมะคุระถูกเรียกว่า รัฐบาลเต็นต์ หรือ ''บะกุฟุบากูฟุ'' ({{nihongo2|幕府|bakufu}}) มีสภาขุนนางซึ่งมีอำนาจตัดสินใจเกี่ยวกับการปกครองเรียกว่า ''มันโดะโกะโระ'' ({{nihongo2|政所|Mandokoro}}) สงครามทำให้ชนชั้นนักรบได้เข้าครอบครองที่ดินต่างๆซึ่งแต่ก่อนเป็นของราชสำนักเกียวโต เป็นจุดเริ่มต้นของญี่ปุ่นสมัยศักดินา โดยนักรบที่เป็นนายจะแบ่งที่ดินให้แก่ข้ารับใช้ของตนตาม[[ระบอบศักดินาสวามิภักดิ์]] (Feudalism) โดยที่ซะมุไรผู้ถือครองที่ดินเรียกว่า ''จิโต'' ({{nihongo2|地頭|Jitō}}) ในขณะที่''บะกุฟุบากูฟุ''แต่งตั้งซะมุไรไปปกครองแว่นแคว้นเรียกว่า ''ชูโง'' ({{nihongo2|守護|Shugō}}) ทับซ้อนกับระบอบเจ้าผู้ปกครองแคว้นเดิมที่ได้รับแต่งตั้งจากราชสำนักเกียวโต
 
===การขึ้นสู่อำนาจของตระกูลโฮโจ===