ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผีเสื้อ (แมลง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Printspike (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 42:
การจำแนกผีเสื้อแบบแยกสองแฉก (dichotomous classification) เป็นกลุ่มผีเสื้อกลางวัน (butterfly) และกลุ่มผีเสื้อกลางคืน (moth) เป็นอีกวิธีในการจำแนกผีเสื้อที่นิยมมากนอกเหนือจากแบบอนุกรมวิธานพืช การจำแนกประเภทเป็นกลุ่มทั้งสองดังกล่าวนั้นกระทำได้โดยการสังเกตลักษณ์จำเพาะของผีเสื้อ
 
== วงจ[[ร]]ชีวิตรชีวิต ==
การเจริญเติบโตของผีเสื้อแตกต่างจากบรรดาแมลงชนิดอื่นทั้งหลาย โดยปรากฏเป็นจตุวัฏจักร ดังนี้ คือ
# ระยะไข่ (Egg Stage)
บรรทัด 64:
 
[[ไฟล์:Lorenz attractor yb.svg|thumb|150px|[[ตัวดึงดูดลอเรนซ์]] ภาพที่คิดค้นโดย [[เอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์]] ที่มีลักษณะเหมือนปีกผีเสื้อ อันเป็นที่มาของ[[ทฤษฎีความอลวน|ทฤษฎีเคออส]]]]
 
==ผีเสื้อในวัฒนธรรม==
[[มนุษย์]]มีความผูกพันกับผีเสื้อมาเป็นระยะเวลาช้านาน ใน[[วัฒนธรรม]]ของหลายชนชาติ ผีเสื้อถูก[[ความเชื่อ|เชื่อ]]และอ้างอิงถึงต่าง ๆ เช่น [[ชาวจีน]]และ[[ชาวญี่ปุ่น]]เชื่อว่า ผีเสื้อ คือ [[วิญญาณ]]ของ[[ศพ|ผู้ตาย]] ที่มาสื่อสารบางอย่างแก่ผู้ที่ยังผูกพัน เช่น คนรัก หรือคนในครอบครัว มี[[บทกวี]][[ไฮกุ]]บทหนึ่งที่กล่าวว่า ''"ข้าพเจ้าเห็นดอกไม้ลอยกลับเข้าหาต้น แท้ที่จริงแล้วเป็นผีเสื้อตัวหนึ่ง"'' นอกจากนี้แล้วยังมี[[นิทาน]]พื้นบ้านของจีน ที่กล่าวถึง ชายหนุ่มผู้หนึ่งที่มี[[นางไม้]]คู่[[แฝด]]มาหลง[[รัก]]เขา โดยนางทั้งสองจะแวะเวียนมาเล่าเรื่องเกี่ยวกับผีเสื้อให้ฟังอยู่เสมอ ๆ <ref>[[แล็ฟคาดิโอ เฮิร์น]], ''ผีเสื้อ'' เรื่องผีผี แปลโดย ปาริฉัตร เสมอแข, ผุสดี นาวาวิจิต, สำนักพิมพ์ผีเสือ ([[กรุงเทพมหานคร]], [[พ.ศ. 2543]]) ISBN 974-14-0143-4</ref>