ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เต่าบึงจุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
'''เต่าดำแฮมิลตัน''' หรือ '''เต่าบึงดำลายจุด''' หรือ '''เต่าบึงจุด''' ({{lang-en|Black pond turtle, Spotted pond turtle, Indian spotted turtle}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Geoclemys hamiltonii}}<ref>[http://www.chelonia.org/geoclemysgallery.htm Chelonia.org]</ref>) เต่าชนิดหนึ่ง จัดอยู่ใน[[วงศ์เต่านา]] (Geoemydidae)
 
จัดเป็นเพียงเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล ''Geoclemys''<ref name=itis>{{ITIS|id=551747|taxon=''Geoclemys'' Gray, 1856 |accessdate=15 May 2014}}</ref> โดยชื่อ แฮมิลตัน ที่เป็นทั้งชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์นั้น ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่นักธรรมชาติวิทยา[[ชาวสกอต]] [[ฟรานซิส แฮมิลตัน]]<ref>Beolens B, Watkins M, Grayson M. 2011. ''The Eponym Dictionary of Reptiles''. Baltimore: Johns Hopkins University Press. xiii + 296 pp. {{ISBN|978-1-4214-0135-5}}. (''Geoclemys hamiltonii'', p. 114).</ref>
 
เต่าดำแฮมิลตัน เป็นเต่าขนาดเล็ก ขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 1 ฟุต มีลักษณะเด่น คือ ทั้งตัวและกระดองมีสีคล้ำเช่น สีดำ หรือสีน้ำตาลเข้ม ตามหัวลำตัวและกระดองมีจุดกลมสีเหลืองหรือสีขาวกระจายอยู่ทั่ว ขนาดของเพศผู้โตเต็มที่ไม่เกิน 11–12 นิ้ว และ เพศเมียมีขนาดเล็กกว่าเพศผู้ ขนาด 7–8 นิ้ว มีฤดูผสมพันธุ์ ปีละ 2 ครั้ง ในช่วงเดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม ออกไข่ครั้งละ 6–10 ฟอง ระยะฟักไข่ 60–65 วัน อายุยืน ประมาณ 15–20 ปี เป็นเต่าที่พบแพร่กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของอนุทวีปอินเดีย เช่น อินเดีย, บังกลาเทศ, ปากีสถาน