ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตะลุมพุก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| synonyms = *''Alausa ctenolepis'' <small>[[Bleeker]], [[ค.ศ. 1852|1852]]</small>
*''Hilsa toli'' <small>(Valenciennes, 1847) </small>
| synonyms_ref = <ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic{{ITIS|id=TSN&search_value551301|taxon=551301''Tenualosa จาก itis.gov {{entoli''}}]</ref>
}}
 
บรรทัด 25:
 
== ลักษณะ ==
ปลาตะลุมพุกมีรูปร่างคล้าย[[วงศ์ปลาตะเพียน|ปลาในวงศ์ปลาตะเพียน]] แต่ลำตัวเพรียวกว่า และส่วนครีบหลังหางยาวเว้าลึกกว่ามาก ปากกว้าง ลูกตามีเยื่อไขมันคลุม ครีบอก ครีบท้อง และครีบก้นเล็ก เกล็ดใหญ่แต่บางคลุมทั้งลำตัว เกล็ดท้องเป็นสันคม ลำตัวด้านหลังมีสีคล้ำอมฟ้าอ่อนหรือเขียวอ่อน เช่นเดียวกับหัว ด้านข้างเป็นสีเงินอมฟ้าหรือเหลืองอ่อนไปจนถึงท้อง ในปลาที่ไม่สดนักมักมีสีแดงเรื่อ ๆ ที่ข้างลำตัว ครีบมีสีเหลืองอ่อน ครีบหางสีเหลืองอ่อนเหลือบฟ้า ขอบสีคล้ำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 35-35–45 [[เซนติเมตร]] พบกระจายพันธุ์ใน[[ชายฝั่ง]][[ทะเล]]ตั้งแต่[[อ่าวเบงกอล]]จนถึง[[ทะเลจีนใต้]]และ[[อินโด-แปซิฟิก]]
 
== พบในประเทศไทย ==
สำหรับใน[[ประเทศไทย]] ในอดีตราว 60 ปีก่อน เคยพบชุกชุมใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] โดยจะว่ายเข้ามาวางไข่ถึงตำบลบางยี่ขัน [[อำเภอบางพลัด]] เชื่อกันว่าปลาชนิดนี้ชอบมากินกาก[[ส่าเหล้า]]ที่โรงสุราบางยี่ขัน (ปัจจุบัน คือ ที่ตั้งของ[[มูลนิธิชัยพัฒนา]] ภายใน[[สวนหลวงพระราม 8]] บริเวณเชิงสะพานพระราม 8 ฝั่งธนบุรี) กลั่นทิ้ง โดยแหล่งขึ้นชื่อการวางไข่ของปลาตะลุมพุก พบได้ตั้งแต่ตำบลสามเสน ขึ้นไปวางไข่ไกลถึง[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] รวมถึงพบชุกชุมที่แหลมตะลุมพุก [[อำเภอปากพนัง]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] อันเป็นที่มาของชื่อสถานที่ด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีอนุสาวรีย์ปลาตะลุมพุกสีเหลืองแสดงไว้อยู่<ref>{{cite web|url=https://www.facebook.com/BLUESKYChannel/videos/1419237724845654/|work=[[ฟ้าวันใหม่]]|title=วิเคราะห์คอลัมนิสต์|date=2018-07-05}}</ref>
 
ในปี [[ค.ศ. 1935]] ซึ่งในเวลานั้นจำนวนปลาก็ลดลงมากแล้ว [[ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ]] อธิบดี[[กรมประมง]]คนแรกรายงานว่า