ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือประจัญบานชั้นมอนแทนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
American 1988 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
American 1988 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 63:
สหรัฐอเมริกาได้วางแผนที่จะสร้างเรือชั้นมอนแทนาไว้ถึง 5 ลำด้วยกันคือ มอนแทนา, โอไฮโอ, เมน, นิวแฮมป์เชียร์ และลุยเซียนา ทั้งห้าลำได้รับอนุมัติให้สร้างเรียบร้อยแล้วระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การต่อเรือถูกยกเลิกไป3เสียก่อนเนื่องจากมีความต้องการ[[เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์]] และเรือประจัญบานอื่น ๆ ในชั้นไอโอวามากกว่า จึงทำให้เรือทั้ง3มอนแทนาไม่ได้ถูกวางกระดูกงูเพื่อก่อสร้างจนถึงปัจจุบัน
 
การวางแผนการต่อเรือชั้นมอนแทนาถูกวางไว้ตั้งแต่ก่อนที่สหรัฐจะเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง และเรือในชั้นนี้สองลำแรกได้รับการอนุมัติให้สร้างจากสภาคองเกรสในปี 1939 ภายหลังจากการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์โดยจักรวัรรดิญี่ปุ่นทำให้สหรัฐอเมริกาเลื่อนแผนการต่อเรือชั้นนี้ออกไป หลังจากนั้น ความสำเร็จจากการต่อสู้ทางอากาศในการรบที่ทะเลคอรัล (Coral Sea) และต่อด้วย[[ยุทธนาวีเกาะมิดเวย์]] ก็แสดงให้เห็นถึงแสนยานุภาพของเรือบรรทุกเครื่องบินที่มีความสำคัญในการรบเหนือกว่าเรือประจัญบาน ประกอบกับความต้องการเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือสะเทินน้ำสะเทินบก เรือต่อต้านเรือดำน้ำ และยังมีความต้องการเรือประจัญบานชั้นไอโอวาเพิ่มเติมเนื่องจากสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วพอที่จะใช้คุ้มกับเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเอสเซ็กซ์ ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ทำให้เรือประจัญบานชั้นมอนแทนา3ลำถูกยกเลิกการสร้างถาวร และสหรัฐก็ไม่มีแผนในการสร้างเรือประจัญบานใด ๆ อีกเลยในเวลาต่อมา ทำให้เรือประจัญบานมอนแทนา (BB-67) ลำดำรงความเป็นเรือประจัญบานที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่สหรัฐเคยมีต่อมาจนถึงปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==