ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันชาติสาธารณรัฐจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
 
'''วันดับเบิลเท็น''' ({{zh-all|t=雙十節|s=双十节|p=Shuāng Shí Jié}}) เป็น[[วันชาติ]]ของ[[สาธารณรัฐจีน]] และเฉลิมฉลองการเริ่มต้นของ[[การลุกฮือหวูชาง]] เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ซึ่งนำไปสู่การล่มสลายของ[[ราชวงศ์ชิง]]และการสถาปนาสาธารณรัฐจีนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2455 ดังนั้นรัฐบาลจึงกำหนดวันดังกล่าวให้เป็น '''วันเฉลิมฉลองชาติ''' ({{zh-all|t=國慶日|s=国庆日|p=Guóqìng Rì}})<ref>[http://law.moj.gov.tw/LawClass/LawAll.aspx?PCode=D0020033 紀念日及節日實施辦法]</ref>
ความหมายคำว่า ดับเบิลเท็น มาจากการนำ[[อักษรจีน]] 2 ตัว ({{linktext|十}}) "ที่แปลว่า 10" ซ้ำสองครั้ง หรือ "วันสองสิบ" ซึ่งหมายถึงวันที่ 10 เดือน 10 (ตุลาคม) ตรงกับวัน[[การปฏิวัติซินไฮ่|ปฏิวัติซินไฮ่]]
 
ด้วยผลของ[[สงครามกลางเมืองจีน]] รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐจีนสูญเสียการควบคุมจีนแผ่นดินใหญ่ และอพยพไปยังเกาะไต้หวันใน พ.ศ. 2492 วันเฉลิมฉลองชาติปัจจุบันเฉลิมฉลองในเขตเสรีซึ่งยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐ แต่[[ชาวจีนโพ้นทะเล]]บางส่วนก็เฉลิมฉลองด้วยเช่นกัน
เส้น 29 ⟶ 30:
== การเฉลิมฉลองในไต้หวัน ==
[[ไฟล์:DoubleTenDayParadeOctober101966.jpg|right|thumb|250px|[[Generalissimo|จอมทัพ]] อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน [[เจียง ไคเชก]] เป็นประธานในวันชาติสาธารณรัฐจีน ในปี ค.ศ. 1966]]
[[ไฟล์:National Day Fireworks.jpg|thumb|250px|การเฉลิมฉลองโดยการยิงดอกไม้ไฟที่ไต้หวัน]]
ในระหว่างการสถาปนา[[สาธารณรัฐจีน (2455–2492)|สาธารณรัฐจีน]]ในแผ่นดินใหญ่ของจีน เกาะ[[ไต้หวัน]]ตกอยู่ภายใต้[[ไต้หวันภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น|การปกครองของญี่ปุ่น]]ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 และสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 หลังการประกาศยอมแพ้ของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ไต้หวันได้รับเอกราชและได้กลับมาเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐจีนอีกครั้ง
 
ในไต้หวัน การเฉลิมฉลองอย่างเป็นทางการเริ่มจากการประดับ[[ธงชาติสาธารณรัฐจีน]]หน้าบริเวณ[[ทำเนียบประธานาธิบดีไทเป|ทำเนียบประธานาธิบดี]]ควบคู่ไปกับการร้อง[[เพลงชาติสาธารณรัฐจีน]] ในที่สาธารณะ และจะมีการเฉลิมฉลองที่ทำเนียบประธานาธิบดีเป็นที่แรก จากนั้นจะมีการสวนสนามของกองทัพแห่งชาติ หรือ [[พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน]] การเฉลิมฉลองยังประกอบด้วย วัฒนธรรมแบบจีนและวัฒนธรรมพื้นแบบไต้หวัน อาทิเช่น [[การเชิดสิงโต]], [[การเชิดมังกร]], วงบรรเลงตีกลอง และการแสดงพื้นเมืองของ[[ชาวพื้นเมืองไต้หวัน]] เมื่อถึงเวลากลางคืน [[รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน|ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน]]จะออกอากาศถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์อวยพรประชาชน และจะมีการยิง[[ดอกไม้ไฟ]]ตามเมืองสำคัญๆทั่วเกาะไต้หวัน
<center>
<gallery mode="nolines" widths="190" heights="150">
Image:我愛國旗嘉年華-正步營.jpg|การประดับประดาภาพดร.[[ซุน ยัตเซ็น]]และ[[ธงชาติสาธารณรัฐจีน]]
Image:我愛國旗嘉年華.jpg|การประดับประดาภาพดร.[[ซุน ยัตเซ็น]]และ[[ธงชาติสาธารณรัฐจีน]]
Image:10.10 國慶大會中表演項目 (30231145075).jpg|เหล่านักศึกษาร่วมการแสดงตีกลองในระหว่างการเฉลิมฉลอง
</gallery>
</center>
=== พิธีสวนสนามของทหาร ===
[[File:1950 Double Ten Day.jpg|right|thumb|250px|การเดินสวนสนามฉลองวันชาติที่ไต้หวัน ในปี ค.ศ. 1950]]
[[File:1965 Double Ten Parade Taipei.jpg|right|thumb|250px|นักศึกษาถือรูปภาพของดร.[[ซุน ยัตเซ็น]] ในระหว่างวันเฉลิมฉลองชาติในปี ค.ศ. 1965]]
[[File:M41 in Double Ten Day military parade 1966-10-10.jpg|right|thumb|250px|รถถังของ[[กองทัพสาธารณรัฐจีน]] ขณะสวนสนามผ่านหน้าทำเนียบประธานาธิบดีในปี ค.ศ. 1966]]
[[File:Voa chinese ma ying jeou tw 09Oct10 480.jpg|right|thumb|250px|ประธานาธิบดี [[หม่า อิงจิ่ว]] กล่าวสุนทรพจน์ในวันชาติสาธารณีฐจีน ปี ค.ศ. 2010]]
[[File:October 10 2011Taiwancelebrationpic8.jpg|right|thumb|250px|นักเรียนทหารจาก[[สถาบันทหารแห่งสาธารณรัฐจีน]] เข้าร่วมการเดินขบวนในการฉลองวันชาติสาธารณรัฐจีน ปี ค.ศ. 2011]]
{{บทความหลัก|พิธีสวนสนามวันชาติสาธารณรัฐจีน}}
[[กองทัพสาธารณรัฐจีน|กองทัพแห่งสาธารณรัฐจีน]]มีธรรมเนียมที่จะจัดกิจกรรมการเดินสวนสนามทางทหารในช่วงวันเฉลิมฉลองชาติ โดยมีการเดินสวนสนามของเหล่าทหารของกองทัพพร้อมอาวุธยุทโธปกรณ์ผ่านลานหน้าทำเนียบประธานาธิบดี โดยปกติแล้วจะมีเจ้าหน้าที่ทหาร, คณะผู้แทนรัฐสภาผู้ทรงเกียรติและเอกอัครราชทูตจากประเทศต่างๆได้รับเชิญให้เข้าร่วมชมการเดินสวนสนามด้วย
 
การเดินสวนสนามได้ถูกจัดขึ้นอย่างไม่ต่อเนื่องเป็นระยะๆในระหว่างช่วงที่สาธารณรัฐจีนอยู่ที่ไต้หวัน การเดินสวนสนามในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ.1949 เป็นการเดินสวนสนามที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกต่อสาธารณชนที่ไต้หวัน มี [[เฉิน เฉิง]]ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ตรวจตราการเดินสวนสนาม การเดินสวนสนามได้ถูกยกเลิกเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งและการวิพากษ์วิจารณ์ว่าสิ้นเปลืองงบประมาณ จนถึงสมัยที่ประธานาธิบดี [[หม่า อิงจิ่ว]]ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี การเดินสวนสนามได้ถูกจัดขึ้นอีกครั้ง
 
การเดินสวนสนามจะมีธรรมเนียมการตะโกนร้องขานว่า "สาธารณรัฐจีนจงเจริญ!" ("จงฮวา หมิงกว๋อ ว่านซุ่ย!" (中華民國萬歲)) หลังจากกาสิ้นสุดการประกาศสุนทรพจน์ของ[[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน]]
== การเฉลิมฉลองนอกดินแดนไต้หวัน ==
=== จีนแผ่นดินใหญ่ ===