ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรกนาขวัญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox holiday
|holiday_name = พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
|type = เอเชีย
|image =Thai Royal Ploughing Ceremony 2009 - 1.jpg
|imagesize =
|caption = พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญที่[[กรุงเทพมหานคร]], [[ประเทศไทย]] ปี พ.ศ. 2552
|official_name =
* พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (ไทย)
* ព្រះរាជពិធីបុណ្យច្រត់ព្រះនង្គ័ល ''เปรี๊ยะเรียจเพียะถีจร๊อดเปรี๊ยะเนียงก็วล'' (กัมพูชา)
* වප් මඟුල් ''Vap Magula'' (ศรีลังกา)<ref>[http://www.encyclopedia.com/environment/encyclopedias-almanacs-transcripts-and-maps/buddhist-religious-year Buddhist Religious Year]</ref>
* பொன்னேர் உழுதல் "Ponner Uzhuthal" ([[รัฐทมิฬนาฑู]], [[อินเดีย]] - Ploughing with the golden plough <ref>
[https://ta.wikipedia.org/s/ahd]</ref>.
|nickname = วันพืชมงคล<br/> วันเกษตรกร
|observedby = [[ไทย]], [[กัมพูชา]] และ [[ศรีลังกา]]
|longtype = วันสำคัญประจำชาติในประเทศไทยและกัมพูชา<br/> เทศกาลท้องถิ่นในศรีลังกา
|significance = เป็นเครื่องหมายจุดเริ่มต้นของฤดูปลูกข้าว
|date =
|date2007 = 10 พฤษภาคม (Thailand)<br/>5 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2008 = 9 พฤษภาคม (Thailand)<br/>23 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2009 = 11 พฤษภาคม (Thailand)<br/>12 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2010 = 13 พฤษภาคม (ไทย)<br/>2 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2011 = 13 พฤษภาคม (ไทย)<br/>21 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2012 = 9 พฤษภาคม (ไทย)<br/>9 พฤษภาคม (กัมพูชา){{citation needed|date=May 2012}}
|date2013 = 13 พฤษภาคม (ไทย)<br/>28 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2014 = 9 พฤษภาคม (ไทย) <br>17 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2015 = 13 พฤษภาคม (ไทย)<br/>6 May (กัมพูชา)
|date2016 = 9 พฤษภาคม (ไทย)<br/>24 May (กัมพูชา)
|date2017 = 12 พฤษภาคม (ไทย)<br/>14 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2018 = 14 พฤษภาคม (ไทย)<br/>3 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2019 = 22 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|date2020 = 10 พฤษภาคม (กัมพูชา)
|celebrations =
|observances = การไถนา
|relatedto =
}}
[[ไฟล์:Saya Chone's "Royal Ploughing Ceremony".png|thumb|300px|ภาพวาดในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แสดงพิธีแรกนาขวัญในพม่า]]
'''แรกนาขวัญ''' ({{lang-en|Ploughing Ceremony}}; {{lang-km|បុណ្យច្រត់ព្រះនង្គ័ល}}; {{lang-my|မင်္ဂလာလယ်တော် ''Mingala Ledaw'' หรือ လယ်ထွန်မင်္ဂလာ ''Lehtun Mingala''}}) เป็นชื่อพิธีกรรมที่พบเห็นได้ในหลายประเทศทางแถบเอเชีย จัดขึ้นเพื่อเริ่มต้นฤดูการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม
เส้น 49 ⟶ 84:
* พ.ศ. 2560 ตรงกับ ศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม (แรม 2 ค่ำเดือน 6)<ref>สำนักพระราชวัง. (การสอบถามทางโทรศัพท์) 23 ธันวาคม 2559</ref>
* พ.ศ. 2561 ตรงกับ จันทร์ที่ 14 พฤษภาคม (แรม 15 ค่ำเดือน 6)<ref>[https://mgronline.com/qol/detail/9600000115567 ศน.แจ้งวันหยุดราชการปี 61 ของสำนักพระราชวัง]</ref>
==ประเทศกัมพูชา==
[[ไฟล์:Epa02139843-cambodian-prince-sisowath-weacheravudh-c-plows-during-fnkj4k.jpg|thumb|right|300px|พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในพระราชอาณาจักร[[กัมพูชา]]]]
ในพระราชอาณาจักร[[กัมพูชา]] ประวัติความเป็นมาตามพงสาวดาร นักโบราณคดีได้ระบุว่า พระราชพิธีจรดพระนังคัลนั้น ได้ถูกพระราชากัมพูชาประกอบเป็นพิธีจนเป็นประเพณี อย่างน้อยก็ตั้งแต่สมัย[[อาณาจักรเจนละ]] (ศตวรรษที่ ๖ ถึงศตวรรษที่ ๙) โดยพวกเขาได้ค้นพบรูปปั้นหลายรูปที่แสดงถึงสถานะของพระราชพิธีจรดพระนังคัลในสมัยนั้น
 
ในปัจจุบันพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นพระราชพิธีอย่างหนึ่งในพระราชพิธีทวาทศมาส (พระราชพิธีบุญที่ทำขึ้นหนึ่งครั้งในหนึ่งเดือน ตามพระราชประเพณี) ตามธรรมดาแล้ว พระราชพิธีนี้จะจัดขึ้นในเดือนห้า (พฤษภาคม) ซึ่งเป็นช่วงต้นฤดูกาลการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร โดยทั่วไปจะจัดขึ้นบนลานพระเมรุ อยู่ทางทิศเหนือของพระบรมราชวัง หรือ พระท้องนาที่ใดที่หนึ่ง ในบางปี จะจัดขึ้นใน[[จังหวัดเสียมราฐ]]
 
===การประกอบพิธี===
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญส่วนใหญ่จะจัดขึ้นในวันแรม ๑ ค่ำ ๒ ค่ำ และ ๓ ค่ำ เดือน ๕ โดยจะจัดให้มีพราหมณ์ ๕ คน ประกอบพิธีบูชาเทวดา ๕ องค์ ณ พระท้องนา ในบางครั้ง พระราชาจะเสด็จไปจรดพระนังคัลด้วยพระองค์เอง แต่บางครั้งจะมอบหมายผู้แทนองค์เป็นผู้จรดพระนังคัล ในวันแรม ๔ ค่ำ เดือน ๕ จะมีการแห่คณะองคมนตรี ผู้จรดพระนังคัลซึ่งเป็นตัวแทนพระราชาจะเรียกว่า สะดัจเมียก (พระยาแรกนาขวัญ) และ ภริยาพระเมฮัว (เทพี) ตัวแทนพระอัครมเหสี ออกจากพระราชวังไปยังพระท้องนา โดยที่นั่น จะมีวัว ๓ ตัวยืนรอเป็นที่เรียบร้อยสำหรับประกอบพิธีจรดพระนังคัล ผู้ที่เข้าร่วมพิธีทั้งหญิงทั้งชาย จะแต่งกายในแบบกัมพูชาดั้งเดิม
 
วัวตัวที่ ๑ สำหรับประกอบพิธีจรดพระนังคัล เรียกว่า พระโค หรือ โคพฤษภราช (วัวตัวผู้ของพระราชา) ตามพระราชประเพณี พระเคา หรือ โคพฤษภราช นั้น มีการกำหนดลักษณะที่ชัดเจน กล่าวคือ ตัวสีดำ เขาโค้งงอไปข้างหน้า แล้วปลายแหลมชี้ไปข้างบนเล็กน้อย
 
วัวตัวที่ ๒ ที่ใช้แห่ข้างหน้าและแห่ข้างหลังนั้น ยังไม่มีการกำหนดลักษณะที่ชัดเจน อย่างไรก็ดี ตามครั้งก่อนๆ ที่เคยทำกันมา จะเห็นว่าส่วนใหญ่จะเป็นวัวสีแดง ส่วนพระนังคัลทั้งสามนั้น จะทาเป็นสีดำ มีเส้นสีแดงตัดในแนวนอนเป็นช่วงๆ ส่วนของพระนังคัลสำหรับตัวแทนของพระราชานั้น จะมีลักษณะพิเศษกว่าใคร คือจะมีรูปทรงเป็นพยานาค ทาสีสอง ที่คอของพยานาคจะมีภู่ติดอยู่ที่ทำจากขนสัตว์
 
จุดประสงค์อันสำคัญที่สุดของพระราชพิธีจรดพระนังคัลนั้น จัดขึ้นเพื่อเป็นการพยากรณ์ หรือ เสี่ยงทายผลผลิตเกษตรกรรม และเหตุที่จะเกิดขึ้นภายในหนึ่งปีเต็ม ตามการกระทำของพระโคในพระราชพิธีดังกล่าว พระราชาหรือพระแรกนาขวัญที่เป็นตัวแทนพระมหากษัตริย์ เป็นผู้ไถบนลานพระเมรุ ส่วนพระมเหสีหรือเทพี จะเป็นผู้หว่านเมล็ดตามข้างหลัง ลานพระเมรุจะถูกไถ ๓ รอบในพระราชพิธีดังกล่าว
 
ในบริเวณลานพระท้องนา หรือ ลานพระเมรุนั้น จะมีเต็นท์ดูสวยงามอยู่ และหน้าเต็นท์นั้น จะมีโต๊ะอยู่ ๗ ตัว แล้วบนโต๊ะแต่ละตัว จะมีของวางของอยู่ คือ ข้าวสาร ๑ โต๊ะ ถั่ว ๑ โต๊ะ เม็ดข้าวโพด ๑ โต๊ะ เม็ดงา ๑ โต๊ะ หญ้าสด ๑ โต๊ะ น้ำ ๑ โต๊ะ และ เหล้า ๑ โต๊ะ
 
ในพระราชพิธีนี้ หลังจากที่ได้ไถตามขั้นตอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต่อไปจะเป็นพิธีเสี่ยงทายด้วยวัวพฤษภราช พิธีเสี่ยงทายด้วยโคพฤษภราชนี้ พราหมณ์ซึ่งเป็นพระราชครูที่ยืนข้างๆ พระนังคัลจะท่องคาถาเสี่ยงทายและให้โคบริโภคอาหาร ๗ ชนิดที่ได้กล่าวไป เมื่อพระโคบริโภคสิ่งใดสิ่งหนึ่ง พราหมณ์จะพยากรณ์เหตุการณ์ หรือ ทำนายทายทักเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้นใน ๑ ปีเต็มๆ เช่น โรคระบาด น้ำท่วม ผลผลิตดี และมีฝนตกหนักหรือน้อย เป็นต้น
===การทำนาย===
ในการพยากรณ์ของกัมพูชานั้น หากพระโคเลือกเสวยข้าว ข้าวโพด (ពោត) ถั่ว (សណ្តែក) และงา (ល្ង) ซึ่งเป็นตัวแทนของการเก็บเกี่ยวและผลผลิต ยิ่งพระโคเสวยมากก็พยากรณ์ได้ว่าการเก็บเกี่ยวและผลผลิตจะยิ่งดีมาก หากพระโคเสวยหญ้า (ស្មៅ) พยากรณ์ถึงความเจ็บป่วย เกิดโรคระบาด หากเสวยน้ำ (ទឹក) พยากรณ์ถึงเหตุน้ำท่วม และหากเสวยเหล้า (ស្រា) พยากรณ์ว่ามีลางของสงครามหรืออาจเกิดอาชญากรความไม่สงบ
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}