ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลเมืองชลบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OktaRama2010 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงกล่องข้อมูล
บรรทัด 1:
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=เทศบาลเมือง|ดูที่=ชลบุรี (แก้ความกำกวม)}}
{{กล่องข้อมูล เทศบาล
| ชื่อ = ชลบุรี
<!-- ข้อมูลจำเป็น -->
| เทศบาลประเภท = เทศบาลเมืองชลบุรี
| ภาพ = Khao Khiao Massif-74.JPG
| คำอธิบายภาพ = ภาพเมืองชลบุรีเมื่อมองไปทางทิศตะวันออก
| ตรา = {{#property:p158}}
| สมญา =
| ชื่ออังกฤษ = Chon Buri Town Municipality
<!-- ข้อมูลเสริม -->
| คำขวัญ = พระพุทธสิหิงค์สูงค่า พระปิดตาลือเลื่อง เมืองเก่าบางปลาสร้อย ถิ่นซอยคลองจอง ดังก้องประเพณีวิ่งควาย
| pushpin_map = Thailand
| ชื่อนายกเทศมนตรี = นายเดโช คงชยาสุขวัฒน์
| pushpin_label_position = left
| รหัสiso = 2099
| pushpin_map_caption = ที่ตั้งของเทศบาลเมืองชลบุรี
| coordinates = {{coord|13|21|40|N|100|59|6|E|region:TH|display=inline, title}}
| จังหวัด = ชลบุรี
| อำเภอ = เมืองชลบุรี
| สำนักงาน = สำนักงานเทศบาลเมืองชลบุรี <br> ถนนวชิรปราการ ตำบลบางปลาสร้อย <br> [[อำเภอเมืองชลบุรี]] [[จังหวัดชลบุรี]]
| ชื่อนายกเทศมนตรี = นายเดโช คงชยาสุขวัฒน์
| พื้นที่ = 3.5
| elevation_m =
| ประชากร = 2927,048815
| ความหนาแน่น = 8,299
| ปีสำรวจประชากร = 25582560
| population_footnotes = <ref name="stat">[http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/showZoneData.php?rcode=2099&statType=1&year=60 รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2560 ท้องถิ่นเทศบาลเมืองชลบุรี] ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง</ref>
<!-- ข้อมูลสำนักงาน (ข้อมูลเพิ่มเติม) -->
| ความหนาแน่น = 87,299947.14
| สำนักงาน = สำนักงานเทศบาลเมืองชลบุรี <br> ถนนวชิรปราการ ตำบลบางปลาสร้อย <br> [[อำเภอเมืองชลบุรี]] [[จังหวัดชลบุรี]]
| รหัสpostal =
| โทรศัพท์ =
| geocode =
| โทรสาร =
| รหัสiso = 2099
| เว็บไซต์ = http://www.chonburicity.go.th/ http://www.chonburicity.go.th/
| โทรศัพท์ =
| โทรสาร =
| เว็บไซต์ = http://www.chonburicity.go.th/ http://www.chonburicity.go.th/
}}
[[ไฟล์:chon.jpg|thumb|200px|สำนักงานเทศบาลเมืองชลบุรี]]
 
'''เทศบาลเมืองชลบุรี''' หรือ '''เมืองชลบุรี''' ตั้งอยู่ในเขต[[อำเภอเมืองชลบุรี]] [[จังหวัดชลบุรี]] และมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เป็น[[เทศบาล]]ขนาดใหญ่ จัดตั้งขึ้นโดยยกฐานะจาก[[สุขาภิบาล]]เมืองชลบุรี เป็นเทศบาลเมืองชลบุรี เมื่อวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2478]] ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 52 หน้าที่ 1651 มีพื้นที่ 0.56 ตารางกิโลเมตร ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงขยายเขตเทศบาลครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ [[1 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2480]] ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 45 หน้า 1760 มีพื้นที่เพิ่มจากเดิมอีก 4.01 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีพื้นที่รวม 4.57 ตารางกิโลเมตร โดยในจำนวนนี้เป็นพื้นที่บนบกประมาณ 3.5 ตารางกิโลเมตร ที่เหลืออีกประมาณ 1.07 ตารางกิโลเมตรเป็นพื้นที่น้ำ
เส้น 25 ⟶ 35:
== ประวัติ ==
=== สมัยกรุงศรีอยุธยา ===
 
[[เมืองชลบุรี]]ปรากฏเป็นหลักฐานในทำเนียบ[[ศักดินา]] หัวเมือง ตราเมื่อ[[มหาศักราช]] 1298 ตรงกับ พ.ศ. 1919 ชลบุรีมีฐานะเป็น[[เมืองจัตวา]] ผู้รักษาเมืองเป็นที่ ''"ออกเมืองชลบุรีศรีมหาสมุทร"'' ศักดินา 2,400 ไร่ ส่งส่วยไม้แดง
 
เส้น 31 ⟶ 40:
 
=== สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ===
 
ตั้งแต่สมัย[[รัชกาลที่ 4]] เป็นต้นมา [[พระมหากษัตริย์]]และ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ได้เสด็จประพาส[[เมืองชลบุรี]] หลายครั้งหลายหน เพราะ[[เมืองชลบุรี]]เป็นเมืองชายทะเล เหมาะแก่การพักผ่อน มีทัศนียภาพงดงามและไม่ไกลจาก[[กรุงเทพมหานคร]]มากนัก
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2350]] พระสุนทรโวหาร หรือ [[สุนทรภู่]] รัตนกวีของไทย ได้เดินทางจาก[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อไปเยี่ยมบิดาที่[[เมืองแกลง]] [[จังหวัดระยอง]] ได้เขียนไว้ใน[[นิราศเมืองแกลง]] กล่าวถึงเมืองต่าง ๆ เมื่อเข้าถึงเขตชลบุรีแล้วไปตามลำดับจากเหนือไปใต้ คือ [[บางปลาสร้อย]] [[หนองมน]] [[บ้านไร่]] [[บางพระ]] [[บางละมุง]] [[นาเกลือ]] [[พัทยา]] [[นาจอมเทียน]] [[ห้วยขวาง]] [[หนองชะแง้ว]] (ปัจจุบันเรียก[[บ้านชากแง้ว]] อยู่ในเขต[[อำเภอบางละมุง]] ซึ่งเป็นทางที่จะไป[[อำเภอแกลง]] [[จังหวัดระยอง]]ได้)
 
[[ไฟล์:chon.jpg|thumb|200px|สำนักงานเทศบาลเมืองชลบุรี]]
[[ไฟล์:สวนตำหนักน้ำ.jpg‎‎‎|thumb|200px|สวนตำหนักน้ำ เทศบาลเมืองชลบุรี]]
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ปีพ.ศ. 2437 ได้ทรงเปลี่ยนแปลงระบบ[[การปกครอง]]ราชอาณาจักรที่เป็น[[หัวเมือง]]ต่าง ๆ แบบโบราณที่แยกกันอยู่ในบังคับบัญชาของ[[กระทรวงมหาดไทย]] [[กระทรวงกลาโหม]] และกรมท่า ดูไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ยากแก่การปกครองดูแลให้ทั่งถึงและเสมอเหมือนกันได้ โดยให้หัวเมืองต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักรขึ้นอยู่กับ[[กระทรวงมหาดไทย]]เพียง[[กระทรวง]]เดียวหรือหน่วยงานเดียว คือ การรวบรวมหัวเมืองทั้งหลายขึ้นเป็น[[มณฑล]]นั้น [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] องค์ปฐมเสนาบดี[[กระทรวงมหาดไทย]] (พ.ศ. 2435 - 2458) ได้ทรงนิพนธ์ไว้ใน "พำระบันทึกความทรงจำ" ซึ่งมีตอนที่กล่าวถึงเมืองชลบุรีไว้ว่า "รวมหัวเมืองทางลำน้ำ[[บางปะกง]] คือ [[เมืองปราจีนบุรี]] 1 [[เมืองนครนายก]] 1 [[เมืองพนมสารคาม]] 1 [[เมืองฉะเชิงเทรา]] 1 รวม 4 หัวเมือง เป็นเมือง[[มณฑล]] 1 เรียกว่า "[[มณฑลปราจีน]]" ตั้งที่ว่าการ[[มณฑล]] ณ [[เมืองปราจีน]] (ต่อเมื่อโอนหัวเมืองในกรมท่ามาขึ้น[[กระทรวงมหาดไทย]] จึงย้ายที่ทำการ[[มณฑล]]ลงมาตั้งที่[[เมืองฉะเชิงเทรา ]]เพราะขยายอาณาเขต[[มณฑล]]ต่อลงไปทางชายทะเล รวม[[เมืองพนัสนิคม]] [[เมืองชลบุรี]] และ[[เมืองบางละมุง]] เพิ่มให้อีก 3 รวมเป็น 7 เมืองด้วยกัน) แต่คงเรียกชื่อว่า[[มณฑลปราจีน]]อยู่ตามเดิม" ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงในรูป[[การปกครองประเทศ]]ครั้งใหญ่ โดย[[พระราชบัญญัติ]] ระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักร[[สยาม]] พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกเขตการปกครองแบบเมือง ทั่วราชอาณาจักรแล้วตั้งขึ้นเป็น[[จังหวัด]]แทน มีข้าหลวงประจำจังหวัดเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชา [[เมืองชลบุร]]ีจึงเป็น[[จังหวัดชลบุรี]] (แต่เปลี่ยนข้าหลวงประจำจังหวัดเป็น[[ผู้ว่าราชการจังหวัด]]) และต่อมาเทศบาลเมืองชลบุรีจึงได้ถูกจัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2478 ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 52 หน้าที่ 1651
[[ไฟล์:สวนตำหนักน้ำ.jpg‎‎‎|thumb|สวนตำหนักน้ำ เทศบาลเมืองชลบุรี]]
 
== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิอากาศและภูมิประเทศ ==
=== ที่ตั้งและอาณาเขต ===
[[ไฟล์:ชุมชนริมน้ำเมืองชลบุรี.JPG|thumb|200px|ชุมชนริมน้ำเมืองชลบุรี]]
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[อำเภอ]]บริเวณริมฝั่งทะเลตะวันออกของ[[อ่าวไทย]] มีเนื้อที่ประมาณ 4.567 ตร.กม. หรือ 2854.4 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[ตำบลบ้านโขด]] [[ตำบลบางปลาสร้อย]]และ[[ตำบลมะขามหย่ง]] โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
 
* ทิศเหนือ ติดต่อกับ [[เทศบาลตำบลบางทราย]]
* ทิศใต้ ติดต่อกับ [[เทศบาลเมืองบ้านสวน]]
* ทิศตะวันออก ติดต่อกับ [[เทศบาลเมืองบ้านสวน]]
* ทิศตะวันตก ติดต่อกับ [[อ่าวไทย]]
 
=== ภูมิประเทศและภูมิอากาศ ===
เทศบาลเมืองชลบุรีมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล ชายหาดมีลักษณะเว้าแหว่งและลุ่มต่ำ น้ำทะเลท่วมถึง มี[[ป่าชายเลน]]บ้างเล็กน้อย ลักษณะอากาศโดยทั่วไป โดยภาพรวมของ[[จังหวัด]]มีลักษณะอากาศแบบ[[มรสุมเขตร้อน]] โดยมี[[อุณหภูมิเฉลี่ย]]ตลอดปี 28.82 [[องศาเซลเซียส]] และอุณหภูมิสูงสุดในช่วง 29.57 องศาเซลเซียส ถึง 36.90 องศาเซลเซียส [[ความชื้นสัมพัทธ์]]เฉลี่ยประมาณ ร้อยละ 34.50 ลักษณะฝนเป็นแบบ[[มรสุมเขตร้อน]] คือ ฝนจะตกในระหว่าง[[มรสุมตะวันตกเฉียงใต้]] ปริมาณเดือน[[พฤศจิกายน]]ถึงเดือน[[ตุลาคม]] โดยมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,495.50 มิลลิเมตร ต่อปี
 
เส้น 117 ⟶ 135:
</div>
 
== สัญลักษณ์ประจำเมืองชลบุรี ==
=== ตราเทศบาลเมืองชลบุรี ===
[[ไฟล์:chon.gif|thumb|200px|ตราเทศบาลเมืองชลบุรี]]
เส้น 123 ⟶ 141:
 
=== คำขวัญเมืองชลบุรี ===
 
''"พระพุทธสิหิงค์สูงค่า พระปิดตาลือเลื่อง เมืองเก่าบางปลาสร้อย ถิ่นซอยคล้องจอง ดังก้องประเพณีวิ่งควาย"''
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
 
[[ไฟล์:ชุมชนริมน้ำเมืองชลบุรี.JPG|thumb|200px|ชุมชนริมน้ำเมืองชลบุรี]]
 
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[อำเภอ]]บริเวณริมฝั่งทะเลตะวันออกของ[[อ่าวไทย]] มีเนื้อที่ประมาณ 4.567 ตร.กม. หรือ 2854.4 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่[[ตำบลบ้านโขด]] [[ตำบลบางปลาสร้อย]]และ[[ตำบลมะขามหย่ง]] โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
 
* ทิศเหนือ ติดต่อกับ [[เทศบาลตำบลบางทราย]]
* ทิศใต้ ติดต่อกับ [[เทศบาลเมืองบ้านสวน]]
* ทิศตะวันออก ติดต่อกับ [[เทศบาลเมืองบ้านสวน]]
* ทิศตะวันตก ติดต่อกับ [[อ่าวไทย]]
 
== ประชากร ==
 
จำนวนประชากรในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีทั้งสิ้น 29,048 คน แยกเป็น ชาย 13,710 คน หญิง 15,338 คน จำนวน 12,573 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ยต่อพื้นที่ทั้งหมด 6,387 คน ต่อตารางกิโลเมตร หากเฉลี่ยตามพื้นที่บนบกที่อาศัยได้จริง เฉลี่ย 8,299 คน ต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งนับว่ามีความหนาแน่นมาก
 
=== ลักษณะโดยทั่วไปของประชากร ===
 
การตั้งถิ่นฐานของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี โดยทั่วไปมักจะหนาแน่นมาก บริเวณชุมชนชายทะเลด้านทิศตะวันตกของเมืองและชุมชนในเมือง อาชีพสำคัญของประชากรคือ พาณิชยกรรมโดยเฉพาะในย่านชุมชนจะมีร้านค้าติดต่อกันเป็นแถว ตลอดแนวถนนสายสำคัญได้แก่ [[ถนนวชิรปราการ]] [[ถนนเจตน์จำนงค์]] [[ถนนโพธิ์ทอง]] [[ถนนราษฎร์ประสงค]]์และ[[ถนนสุขุมวิท]]เป็นต้น
 
=== การศึกษา ===
 
ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี มีโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา 2 แห่ง, สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดชลบุรี 1 แห่ง คือ [[โรงเรียนชลกันยานุกูล]], สังกัด[[กรมอาชีวศึกษา]] 1 แห่ง คือ [[วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดชลบุรี]], สังกัดการศึกษาเอกชน 8 แห่ง สำหรับ[[เทศบาลเมืองชลบุรี ]]มีโรงเรียนในสังกัด 5 แห่ง เปิดสอนตั้งแต่ระดับเด็กก่อนวัยเรียนถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดทั้ง 5 แห่ง ได้แก่
 
เส้น 156 ⟶ 159:
 
=== การสาธารณสุข ===
 
ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี มี[[สถานพยาบาล]] 1 แห่ง [[คลินิก]] 92 แห่ง ในส่วนของเทศบาลมี[[ศูนย์บริการสาธารณสุข]] 2 แห่ง ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกองการแพทย์ บริการรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนในเขต[[เทศบาล]] โดยศูนย์บริการฯ 1 ตั้งอยู่ที่บริเวณ[[ตลาดวัดกลาง]] และแห่งที่ 2 ตั้งอยู่บริเวณสี่แยก[[ถนนพระยาสัจจา]]
 
=== ชุมชนในเขตเมืองชลบุรี ===
 
ลักษณะชุมชนในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี ประชาชนส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในบริเวณย่านการค้าในถนนสายหลัก และอีกส่วนหนึ่งจะอาศัยอยู่บริเวณแนวชายฝั่งทะเลซึ่งมักเรียกว่าชุมชน ชายทะเล โดยในเขตเทศบาลเมืองชลบุรีแบ่งชุมชนออกเป็น 18 ชุมชน ได้แก่
 
เส้น 169 ⟶ 170:
 
== การคมนาคม ==
 
ชลบุรีเป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญของ[[ภาคตะวันออก]] ตั้งอยู่ห่างจาก[[กรุงเทพมหานคร]] ประมาณ 80 กิโลเมตร และมีระบบคมนาคมขนส่งที่สะดวก ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ส่วนในเขต[[เทศบาล]] ม[[ีถนน]]สายหลักที่สำคัญ คือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 ([[ถนนสุขุมวิท]]) โดยเริ่มจากกรุงเทพ ฯ ผ่าน[[จังหวัดสมุทรปราการ]] [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]] [[จังหวัดชลบุรี]] [[จังหวัดระยอง]] [[จังหวัดจันทบุรี]] และสิ้นสุดที่[[จังหวัดตราด]]
 
บรรทัด 175:
* [[อำเภอเมืองชลบุรี]]
* [[จังหวัดชลบุรี]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==