ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถ่ายโอนความรู้สึก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ราชบัณฑิตสถาน’ ด้วย ‘ราชบัณฑิตยสถาน’
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางไม่ถูกต้อง
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ภาษาอังกฤษมีทั้ง Protein G และ G Protein ซึ่งต่างกัน เปลี่ยนใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ยังไงก็สับสน
บรรทัด 1:
<!-- "sensory transduction" "การถ่ายโอน (สรีรวิทยา)" "transduction (physiology)" การถ่ายโอน "transduction" #redirect [[การถ่ายโอนความรู้สึก]] -->
ใน[[สรีรวิทยา]] '''การถ่ายโอนความรู้สึก'''<ref>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ transduction ว่า "การถ่ายโอนจีน(ผ่านไวรัส)"</ref> ({{lang-en|sensory transduction}}) เป็นการแปลง[[ตัวกระตุ้น]][[sensory system|ความรู้สึก]]จากรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง
 
บรรทัด 8:
==การถ่ายโอนในประสาทรับความรู้สึก==
===ระบบการเห็น===
ใน[[visual system|ระบบการเห็น]] [[เซลล์รับความรู้สึก]]คือ[[photoreceptor|ตัวรับแสง]] (photoreceptor) ใน[[จอตา]]ที่เรียกว่า [[เซลล์รูปแท่ง]] (rod cell) และ[[เซลล์รูปกรวย]] (cone cell) เปลี่ยนพลังงานทางกายภาพของ[[แสง]]ไปเป็น[[electrical impulse|พลังไฟฟ้าพัลส์ไฟฟ้า]] (electrical impulse) ที่เดินทางไปสู่[[สมอง]] พลังงานแสงก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงใน[[โปรตีน]]เยื่อหุ้มเซลล์ที่เรียกว่า [[rhodopsin]] เป็นความเปลี่ยนแปลงที่เริ่มกระบวนการระดับ[[โมเลกุล]] ที่ส่งผลให้มีการลดระดับความต่างศักย์ไฟฟ้าของ[[photoreceptor|ตัวรับแสง]] ซึ่งนำไปสู่การลดระดับสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมอง เพราะฉะนั้น เมื่อมีแสงมากขึ้นมากระทบตัวรับแสง ก็จะมีการถ่ายโอนสัญญาณที่นำไปสู่การส่งพลังไฟฟ้าในระดับความถี่ที่ต่ำลงไปยัง[[สมอง]]
 
ให้สังเกตว่า [[second messenger system|ระบบหน่วยส่งสัญญาณที่สอง]] (second messenger system<ref name="SecondMessenger">'''ระบบหน่วยส่งสัญญาณที่สอง''' (Second messenger system) เป็นโมเลกุลหลายตัวที่ส่งสัญญาณจาก[[หน่วยรับความรู้สึก]]นอก[[เยื่อหุ้มเซลล์]] ไปยังโมเลกุลปลายทางภายในเซลล์ ซึ่งอยู่ใน[[ไซโทพลาซึม]]หรือ[[นิวเคลียส]] ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงบางอย่างในเซลล์ เป็นกระบวนการขยายกำลังของสัญญาณของตัวกระตุ้น</ref>) เป็นสื่อความเปลี่ยนแปลงในการปล่อย[[สารสื่อประสาท]] (neurotransmitter) ซึ่งมีอยู่ใน[[เซลล์รูปแท่ง]] ไม่มีอยู่ใน[[เซลล์รูปกรวย]] ดังนั้น การตอบสนองของเซลล์รูปแท่งต่อความเปลี่ยนแปลงของระดับแสง จึงมีความรวดเร็วช้ากว่าการตอบสนองทั่วๆ ไปใน[[ระบบประสาท]]<ref name="Silverthorn, Dee Unglaub 2004">Silverthorn, Dee Unglaub. Human Physiology: An Integrated Approach, 3rd Edition, Inc, San Francisco, CA, 2004.</ref>
บรรทัด 18:
 
===ระบบการได้กลิ่น===
ใน[[olfactory system|ระบบการได้กลิ่น]] โมเลกุลมีกลิ่นที่อยู่ใน[[mucus|เมือก]][[จมูก]]เข้าไปยึดกับ[[หน่วยรับความรู้สึก]]แบบโปรตีนจีโปรตีนของเซลล์รับกลิ่น ตัวโปรตีนจีโปรตีนนั้นก่อให้เกิดกระบวนการส่งสัญญาณสืบต่อกันไป และนำไปสู่การเพิ่มระดับของ cyclic-AMP (cAMP) ซึ่งกระตุ้นเซลล์ประสาทให้ปล่อย[[สารสื่อประสาท]]<ref name="R&R">{{cite book|authors=Ronnett, Gabriele V., & Moon, Cheil. L|title=G PROTEINS AND OLFACTORY SIGNAL TRANSDUCTION|journal=Annual Review of Physiology|year=2002|volume=64|issue=1|pages=189–222|doi=10.1146/annurev.physiol.64.082701.102219}}</ref>
 
===ระบบการรับรสชาติ===
ใน[[gustatory system|ระบบการรับรสชาติ]] การรับรู้รส 5 อย่าง คือ รสหวาน เค็ม เปรี้ยว ขม และ[[อุมะมิ]] อาศัยวิถีประสาทที่ถ่ายโอนรสชาติโดยโครงสร้างต่างๆ รวมทั้งเซลล์รับรส โปรตีนจีโปรตีน ประตูไอออน (ion channel) และ[[เอ็นไซม์]][[effector (biology)|หน่วยปฏิบัติงาน]] (effector enzyme)<ref>Timothy A Gilbertson; Sami Damak; Robert F Margolskee, "The molecular physiology of taste transduction", Current Opinion in Neurobiology (August 2000), 10 (4), pg. 519-527</ref>
 
==หมายเหตุและอ้างอิง==