ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
ครอบครัว
บรรทัด 39:
; เพลงเถา :
กระต่ายชมเดือนเถา ขอมทองเถา เขมรเถา เขมรปากท่อเถา เขมรราชบุรีเถา แขกขาวเถา แขกสาหร่ายเถา แขกโอดเถา จีนลั่นถันเถา ชมแสงจันทร์เถา ครวญหาเถา เต่าเห่เถา นกเขาขแมร์เถา พราหมณ์ดีดน้ำเต้าเถา มุล่งเถา แมลงภู่ทองเถา ยวนเคล้าเถา ช้างกินใบไผ่เถา ระหกระเหินเถา ระส่ำระสายเถา ไส้พระจันทร์เถา ลาวเสี่งเทียนเถา แสนคำนึงเถา สาวเวียงเหนือเถา สาริกาเขมรเถา โอ้ลาวเถา ครุ่นคิดเถา กำสรวลสุรางค์เถา แขกไทรเถา สุรินทราหูเถา เขมรภูมิประสาทเถา แขไขดวงเถา พระอาทิตย์ชิงดวงเถา กราวรำเถา ฯลฯ
 
== ครอบครัว ==
รองเสวกเอก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) สมรสครั้งแรกกับนางโชติ ประดิษฐ์ไพเราะ (สกุลเดิม: หุราพันธ์) ธิดาของนายพันโท พระประมวญประมาณพล มีบุตรธิดาด้วยกัน 7 คน ต่อมาเมื่อนางโชติถึงแก่กรรมแล้วจึงได้สมรสครั้งที่ 2 กับนางฟู ศิลปบรรเลง (สกุลเดิม: หุราพันธ์) ซึ่งเป็นน้องสาวของนางโชติ มีบุตรธิดาด้วยกัน 5 คน<ref>[https://sites.google.com/site/pipesuyeon/khit-kwi-thiy/khi-tk-si-khxng-thiy คีตกวีไทย หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)]</ref> รวมจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 12 คน ซึ่งได้แก่<ref name="หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ">[https://archive.org/details/1024980000unse หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) 10 มีนาคม 2498 ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส]</ref>
 
# เด็กหญิงสร้อยไข่มุกด์ ศิลปบรรเลง - ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเด็ก
# เด็กหญิงศุกร์ดารา ศิลปบรรเลง - ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเด็ก
# [[ชิ้น ศิลปบรรเลง|นางชิ้น ไชยพรรค (คุณหญิงชิ้น ศิลปบรรเลง)]]
# นางมหาเทพกษัตริยสมุท (บรรเลง สาคริก)
# เด็กชายศิลปสราวุธ ศิลปบรรเลง
# [[นายประสิทธิ์ ศิลปบรรเลง]]
# นางภัลลิกา ศิลปบรรเลง
# นางชัชวาลย์ จันทร์เรือง
# เด็กชายแดง ศิลปบรรเลง - ถึงแก่กรรมตั้งแต่ยังเด็ก
# นายขวัญชัย ศิลปบรรเลง
# เรือเอกสมชัย ศิลปบรรเลง
# นายสนั่น ศิลปบรรเลง
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - 5th Class (Thailand) ribbon.png|80px]] เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย<ref name="หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ" />
* 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 - [[ไฟล์:Dushdi Mala - Civilian (Thailand).png|80px]] [[เหรียญดุษฎีมาลา]] เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/D/363.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์], เล่ม 46, ตอน 0 ง, 12 พฤษภาคม 2472, หน้า 364</ref>
 
เส้น 46 ⟶ 63:
ชีวประวัติของท่านเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างภาพยนตร์เรื่อง'''[[โหมโรง (ภาพยนตร์)|โหมโรง]]''' ออกฉายในปี [[พ.ศ. 2547]] ซึ่งได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์[[ภาษาต่างประเทศ]]ยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย และได้รับการดัดแปลงซ้ำเป็น[[โหมโรง (ละครโทรทัศน์)|ละครโทรทัศน์]] ออกฉายทาง[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] เมื่อ [[พ.ศ. 2555]]
 
== งาน ๑๓๐130 ปีชาตกาลหลวงประดิษฐไพเราะ ==
ในปี 2554 เป็นปีที่ตรงกับวาระ 130 ปี ชาตกาลของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) [[จังหวัดสมุทรสงคราม]]เป็นถิ่นกำเนิดของศิลปินด้านดนตรีที่มีชื่อเสียงมากมาย อาทิ ครู[[เอื้อ สุนทรสนาน]] [[ทูล ทองใจ]] รวมถึงหลวงประดิษฐไพเราะ หรือ ศร ศิลปบรรเลง ซึ่งเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีจากภาพยนตร์เรื่อง "[[โหมโรง]]" และถือได้ว่าท่านเป็นตำนานดนตรีไทย โดยเฉพาะทาง “[[ระนาดเอก]]” ที่มีฝีมือดีเยี่ยม มีผลงานเพลงที่แพร่หลายฝากไว้จนถึงทุกวันนี้ ก็มีพื้นเพเป็นชาวสมุทรสงคราม