ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตามนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:Q430024
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
บรรทัด 15:
'''ตามนุษย์''' เป็น[[อวัยวะ]]ที่ตอบสนองต่อ[[แสง]]และ[[แรงดัน]]
ในฐานะเป็น[[ระบบรับความรู้สึก|อวัยวะรับความรู้สึก]] [[ตา]]ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ทำให้สามารถเห็นได้
ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วง[[กลางวัน]]
[[เซลล์รูปแท่ง]]และ[[เซลล์รูปกรวย]]ใน[[จอตา]]ทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและ[[รับรู้ความใกล้ไกล]]
ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี<ref name="business">{{cite book | first = Deane B. | last = Judd | author2 = Wyszecki, Günter | title = Color in Business, Science and Industry | publisher = Wiley-Interscience | series = Wiley Series in Pure and Applied Optics | edition = third | location = New York | year = 1975 | page = 388 | isbn = 0-471-45212-2}}</ref>
บรรทัด 40:
 
=== ขนาด ===
<!--เผื่ออนาคต {{ข้อมูลเพิ่มเติม |ตาของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม}} -->
ขนาดของตาจะต่าง ๆ กันระหว่างบุคคลเพียง 1-2&nbsp;มม. โดยสม่ำเสมอมากแม้ข้าม[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ต่าง ๆ
ขนาดตามขวาง (transverse) ของตาผู้ใหญ่อยู่ที่ประมาณ 24.2&nbsp;มม. ขนาดด้านตั้ง (sagittal) อยู่ที่ 23.7&nbsp;มม. และขนาดจากข้างหน้าไปด้านหลัง (axial) อยู่ที่ 22.0-24.8&nbsp;มม โดยไม่แตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง[[เพศ]] กลุ่ม[[อายุ]]ต่าง ๆ และ[[ชาติพันธุ์]]ต่าง ๆ<ref>{{Cite doi |10.1155/2014/503645}} "Conclusion. The size of a human adult eye is approximately 24.2mm (transverse)×23.7mm (sagittal)×22.0-24.8mm (axial) with no significant difference between sexes and age groups. In the transverse diameter, the eyeball size may vary from 21mm to 27mm." [http://www.pubfacts.com/detail/25431659/Variations-in-eyeball-diameters-of-the-healthy-adults Full article] {{PDFlink |[https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4238270/pdf/JOPH2014-503645.pdf Full Article] |1&nbsp;MB}}<!-- Variations in eyeball diameters of the healthy adults --></ref>
<!--เผื่ออนาคต The vertical measure, generally less than the horizontal, is about 24&nbsp;mm.
ตาผู้ใหญ่ปกติจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางจากหน้าไปหลังที่ 24&nbsp;มม. โดยมี[[ปริมาตร]]ที่ 6&nbsp;ซม<sup>3</sup><ref name=GeneralOphthal>{{cite book | last = Cunningham | first = edited by Paul Riordan-Eva, Emmett T. | title = Vaughan & Asbury's General Ophthalmology. | publisher = McGraw-Hill Medical | location = New York | isbn = 978-0-07-163420-5 | url = http://accessmedicine.com/resourceTOC.aspx?resourceID=720 | edition = 18th}}</ref>
ขนาดด้านตั้งทั่วไปจะสั้นกว่าด้านขวาง คืออยู่ที่ประมาณ 24&nbsp;มม. -->
ขนาดตามขวางของตาผู้ใหญ่อยู่ที่ประมาณ 24.2&nbsp;มม. และขนาดด้านตั้งอยู่ที่ 23.7&nbsp;มม. โดยไม่แตกต่างอย่างสำคัญระหว่างเพศและกลุ่มอายุต่าง ๆ
โดยมี[[สหสัมพันธ์]]ที่มีกำลังระหว่าง[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]]ตามขวางและความกว้างของเบ้าตา (r = 0.88)<ref>{{cite web | url = http://www.pubfacts.com/detail/25431659/Variations-in-eyeball-diameters-of-the-healthy-adults | title = Variations in eyeball diameters of the healthy adults.}}</ref>
ตาผู้ใหญ่ปกติจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางจากหน้าไปหลังที่ 24&nbsp;มม. โดยมี[[ปริมาตร]] 6&nbsp;ซม<sup>3</sup><ref name=GeneralOphthal>{{cite book | last = Cunningham | first = edited by Paul Riordan-Eva, Emmett T. | title = Vaughan & Asbury's General Ophthalmology. | publisher = McGraw-Hill Medical | location = New York | isbn = 978-0-07-163420-5 | url = http://accessmedicine.com/resourceTOC.aspx?resourceID=720 | edition = 18th}}</ref>
และหนัก 7.5&nbsp;[[กรัม]]{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2011-08}}
 
เส้น 63 ⟶ 59:
คือห้องหน้า (anterior chamber) ระหว่างกระจกตาและม่านตา และห้องหลัง (posterior chamber) ระหว่างม่านตาและแก้วตา
แก้วตาจะแขวนอยู่กับซิลิอารีบอดีด้วยเอ็นแขวนที่เรียกว่า Zonule of Zinn
ซึ่งเป็นเส้นใยละเอียดโปร่งแสงเป็นพัน ๆ และส่งแรงจาจาก[[กล้ามเนื้อ]]เพื่อเปลี่ยนรูปร่างของแก้วตาเมื่อ[[ปรับตาดูใกล้ไกล]]
ส่วนวุ้นตาเป็นวัสดุใส ๆ ทำจากน้ำและ[[โปรตีน]] ซึ่งทำให้เหมือนวุ้นเหนียว ๆ<ref>{{Cite encyclopedia | title = eye, human | encyclopedia = Encyclopædia Britannica from Encyclopædia Britannica Ultimate Reference Suite | year = 2009 }}</ref>
 
เส้น 155 ⟶ 151:
{{บทความหลัก |Saccade}}
Saccade เป็นการเคลื่อนไหวตาทั้งสองข้างอย่างรวดเร็วพร้อม ๆ กันในทิศทางเดียวกันซึ่งควบคุมโดย[[สมองกลีบหน้า]]
ยังมีการเบี่ยงตาเล็ก ๆ ที่ไม่ปกติ น้อยกว่า saccade แต่มากกว่า microsaccade ซึ่งหมุนตาได้ถึง 1/10 องศา โดยน้อยกว่า saccade แต่มากกว่า microsaccade
 
=== Microsaccades ===
เส้น 166 ⟶ 162:
=== Vestibulo-ocular reflex ===
{{บทความหลัก |Vestibulo-ocular reflex}}
vestibulo-ocular reflex เป็น[[รีเฟล็กซ์]]การเคลื่อนไหวตาที่ทำภาพซึ่งตกลงที่จอตาให้เสถียรในช่วงการเคลื่อนไหวศีรษะ โดยขยับตาไปทางทิศตรงกันข้ามของการเคลื่อนไหวศีรษะ เป็นการตอบสนองต่อข้อมูลประสาทการเคลื่อนไหวที่ได้จาก [[vestibular system]] ใน[[หูชั้นใน]] ทำให้สามารถดำรงภาพให้อยู่ที่กลางลานสายตาได้
ยกตัวอย่างเช่น เมื่อศีรษะขยับไปทางขวา ตาก็จะขยับไปทางซ้าย
โดยเป็นอย่างนี้ทั้งหมดเมื่อขยับศีรษะขึ้นลง ซ้ายขวา โดยทั้งหมดให้ข้อมูลแก่กล้ามเนื้อตาเพื่อดำรงความเสถียรของภาพ
เส้น 180 ⟶ 176:
<!--เผื่ออนาคต Main article : [[Optokinetic_response|Optokinetic Response]] -->
[[รีเฟล็กซ์]]แบบ optokinetic reflex/optokinetic nystagmus จะทำให้ภาพบนจอตาเสถียรผ่านกระบวนการป้อนกลับของการเห็น
ซึ่งเกิดเมื่อภาพที่เห็นทั้งหมดเลื่อนข้ามจอตา ทำให้ตาหมุนไปในทางเดียวกันและเร็วพอที่จะลดการเคลื่อนที่ของภาพที่จอตาให้น้อยที่สุด<ref>{{Cite doi |10.1371/journal.pone.0002055}} {{PDFlink |[http://journals.plos.org/plosone/article/file?id=10.1371/journal.pone.0002055&type=printable Full Article] |636&nbsp;KB}} {{Open access}}<!-- PLoS ONE. 2008; 3(4) : e2055. Published online 2008 Apr 30. PMCID: PMC2323102 The Optokinetic Reflex as a Tool for Quantitative Analyses of Nervous System Function in Mice: Application to Genetic and Drug-Induced Variation Hugh Cahill1,2 and Jeremy Nathans1,2,3,4,* --></ref>
เมื่อสิ่งที่กำลังมองออกนอกการมองเห็นตรง ๆ มากเกินไป ก็จะเกิดการเคลื่อนไหวแบบ saccade ให้กลับมามองที่กลางลานสายตา
ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมองนอกหน้าต่างที่รถไฟซึ่งกำลังวิ่งไป ตาสามารถโฟกัสที่รถไฟเคลื่อนที่ได้ระยะสั้น ๆ (โดยทำภาพให้เสถียรที่จอตา) จนกระทั่งรถไฟวิ่งออกนอกขอบเขตการเห็น
เส้น 206 ⟶ 202:
เป็นกระบวนการที่เรียกว่า [[การปรับตาดูใกล้ไกล]] (accommodation)
ซึ่งลด[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]]ส่วนในของกล้ามเนื้อซิลิอารี คลายใยเอ็นแขวน (suspensory ligament) ที่ยึดอยู่กับส่วนรอบ ๆ ของเลนส์ และคลายเลนส์ให้มีรูปนูนหรือกลมขึ้น
เลนส์ที่นูนกว่าจะเบนแสงได้มากกว่าและโฟกัสแสงที่แบบลู่ออกของวัตถุใกล้ ๆ ลงที่จอตา ทำให้วัตถุใกล้ ๆ มีโฟกัสที่ดีกว่า<ref name=Saladin_A&Punity /><ref>{{cite web | title = Human eye | url = http://www.britannica.com/EBchecked/topic/1688997/human-eye | publisher = Encyclopædia Britannica | accessdate = 2012-11-20}}</ref>
 
== การแพทย์ ==
เส้น 224 ⟶ 220:
ความระคายเคืองตาอาจนิยามได้ว่า "ความรู้สึกเจ็บ คัน แสบ หรือระคายเคืองอื่น ๆ ที่มาจากตา"<ref name=Mendell_OfficeWorkers>{{cite journal | last = Mendell | first = Mark J. | title = Non-Specific Symptoms In Office Workers: A Review And Summary Of The Epidemiologic Literature | journal = Indoor Air | date = 2004-04-22 | volume = 3 | issue = 4 | pages = 227-236 | doi = 10.1111/j.1600-0668.1993.00003.x | url = http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1600-0668.1993.00003.x/abstract | accessdate = 2012-11-20 | quote = the magnitude of any stinging, scratching, burning, or other irritating sensation from the eye}}</ref>
มันเป็นปัญหาสามัญที่ทุกคนมี
 
อาการที่เกี่ยวข้องกันรวมทั้งความรู้สึกไม่สบาย ตาแห้ง น้ำตาไหล คัน ระคาย เหมือนมีของแปลกปลอมที่ตา ล้า ปวด แสบ เจ็บ แดง หนังตาบวม เหนื่อย เป็นต้น
โดยมีระดับต่าง ๆ ตั้งแต่เบา ๆ จนถึงรุนแรง
เส้น 239 ⟶ 234:
ปัจจัยทางอาชีพก็น่าจะมีผลต่อความรู้สึกระคายเคืองตาด้วย
รวมทั้งแสงไฟ (แสงสว่างเกินและมีความเปรียบต่างต่ำ)
อิริยาบถในการมอง อัตราการกะพริบตาที่ลดลง การหยุดพักทำงานน้อยเกินในงานที่ใช้ตาน้อยเกินมาก และการปรับตาดูใกล้ไกลที่แบบไม่ค่อยเปลี่ยน ภาระต่อกระดูกและกล้ามเนื้อ และปัญหาระบบประสาทเนื่องกับการเห็น<ref name=Murata_CNSeffects>
{{cite journal | last = Murata | first = K | author2 = Araki, S | author3 = Kawakami, N | author4 = Saito, Y | author5 = Hino, E | title = Central nervous system effects and visual fatigue in VDT workers | journal = International Archives of Occupational and Environmental Health | year = 1991 | volume = 63 | issue = 2 | pages = 109-13 | pmid = 1889879 | doi = 10.1007/BF00379073}}</ref><ref name=Rossignol>
{{cite journal | last = Rossignol | first = AM | author2 = Morse, EP | author3 = Summers, VM | author4 = Pagnotto, LD | title = Video display terminal use and reported health symptoms among Massachusetts clerical workers | journal = Journal of Occupational Medicine | date = 1987-02 | volume = 29 | issue = 2 | pages = 112-8 | pmid = 3819890}}</ref>
เส้น 268 ⟶ 263:
 
ความถี่การกะพริบตานิยามว่า จำนวนการกะพริบตาต่อนาที โดยเกี่ยวข้องกับความระคายเคืองตา
ความถี่เฉลี่ยจะต่างกันในบุคคลต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่น้อยกว่า 2-3&nbsp;ครั้ง/นาที จนถึง 20-30&nbsp;ครั้ง/นาที และจะขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รวมทั้งการใช้เลนส์สัมผัสเป็นต้น
ภาวะขาดน้ำ กิจกรรมทางใจ สภาพการทำงาน อุณหภูมิห้อง [[ความชื้นสัมพัทธ์]] และแสงสว่างล้วนแต่มีอิทธิพลต่อความถี่การกะพริบตา
 
เส้น 328 ⟶ 323:
ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับฝุ่นกับการตอบสนอง ประเมินโดยเชื่อมอัตราความชุกของอาการแต่ละชนิดกับการได้รับฝุ่นทั้งสองรูปแบบ<ref name=Wegman_DoseRelatedAcuteIrritants />
 
อัตราความชุกแบบเฉียพลันของความระคายเคืองต่อจมูก ตา และคอ บวกกับการไอและการหายหายใจไม่ออกพบว่า สัมพันธ์กับการได้รับฝุ่นเพิ่มขึ้นในทั้งสองรูปแบบ
แต่ความชันของการได้รับฝุ่น-การตอบสนองจะสูงกว่าเมื่อใช้ข้อมูลการได้รับฝุ่นระยะสั้น
การวิเคราะห์โดย multivariate logistic regression แสดงว่า ผู้สูบบุหรี่มักจะไวต่อการประสบกับฝุ่นโซเดียมบอเรตในอากาศน้อยกว่า<ref name=Wegman_DoseRelatedAcuteIrritants />
เส้น 349 ⟶ 344:
เครื่องสำอางตาควรใช้อย่างระมัดระวัง<ref>{{cite journal | last = Lozato | first = PA | author2 = Pisella, PJ | author3 = Baudouin, C | title = The lipid layer of the lacrimal tear film: physiology and pathology | journal = Journal Français d'Ophtalmologie | date = 2001-06 | volume = 24 | issue = 6 | pages = 643-58 | pmid = 11460063}}</ref>
 
ข้อปฏิบัติพฤติกรรมแบบ[[กามวิปริต]]คือ การเลียลูกตา (oculolinctus) อาจทำให้เกิดความระคายเคือง การติดเชื้อ หรือความเสียหายต่อตา<ref name="Heritage">{{cite news | last = Heritage | first = Stuart | title = Eyeball-licking: the fetish that is making Japanese teenagers sick | url = https://www.theguardian.com/lifeandstyle/shortcuts/2013/jun/14/eyeball-licking-fetish-japanese-teenagers-sick | accessdate = 2013-06-14 | newspaper = The Guardian | date = 2013-06-14}}</ref>
 
=== โรคตา ===
เส้น 358 ⟶ 353:
เมื่ออายุมากขึ้น คุณภาพการเห็นจะลดลงเนื่องจากเหตุที่เป็นอิสระจากโรคตา
แม้จะมีความเปลี่ยนแปลงสำคัญหลายอย่างในตาที่ไม่เป็นโรค
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการทำงานมากที่สุดก็คือ การลดขนาดรูม่านตาและการเสีย[[การปรับตาดูใกล้ไกล]] คือสมรรถภาพในการโฟกัส (โดยเฉพาะคือ presbyopia)
ขนาดของรูม่านตาจะเป็นตัวควบคุมปริมาณแสงที่เข้ามาถึงจอตา
ระดับที่รูม่านตาสามารถขยายจะลดลงตามอายุ ทำให้แสงที่เข้ามาถึงจอตาลดลงมาก
เทียบกับคนอายุน้อยกว่า คนสูงอายุดูเหมือนจะใส่แว่นกันแดดที่มืดในระดับกลาง ๆ อยู่ตลอดเวลา
ดังนั้น เมื่อต้องใช้ตาทำงานที่จะออกมาดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับระดับแสงสว่าง ผู้สูงอายุจะต้องได้แสงสว่างมากกว่า
เส้น 373 ⟶ 368:
 
ผู้มีวิชาชีพดูแลตารวมทั้ง[[จักษุแพทย์]] นักตรวจปรับสายตา (optometrist) และนักประกอบแว่น (optician) จะเป็นผู้ดูแลบริการในเรื่องตาและโรคตา
แผนภาพสเนลเลน (Snellen chart) จะใช้สามารถวัดการเห็นได้ชัด (visual acuity) ได้เป็นวิธีหนึงหนึ่ง
หลังจากได้ตรวจตา หมอตาอาจจะให้ใบค่าตรวจตาแก่คนไข้เพื่อตัด[[แว่นสายตา]]
โรคตาบางชนิดที่จำเป็นต้องใช้แว่นสายตารวมทั้ง[[สายตาสั้น]] ซึ่งประชากรมนุษย์ประมาณ 1/3 จะมี{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน | date = 2012-04}},
เส้น 387 ⟶ 382:
 
ลูทีนและซีอาแซนทินเป็น[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] ที่ป้องกันจอตาและจุดภาพชัดจากความเสียหายโดยออกซิเดชันเพราะคลื่นแสงที่มีพลังงานสูง<ref>{{cite journal | authors = Johnson, EJ; Hammond, BR; Yeum, KJ; Qin, J; Wang, XD; Castaneda, C; Snodderly, DM; Russell, RM | year = 2000 | title = Relation among serum and tissue concentrations of lutein and zeaxanthin and macular pigment density | journal = American Society for Clinical Nutrition | volume = 71 | issue = 6 | pages = 1555-1562 }} </ref>
คือ เมื่อคลื่นแสงเข้าไปในตา มันก็จะปลุกเร้า[[อิเล็กตรอน]]ที่อาจเป็นอันตราอันตรายต่อเซลล์ในตา
แต่ก่อนที่จะสร้างความเสียหายโดยออกซิเดชัน ซึ่งอาจนำไปสู่โรคจุดภาพชัดเสื่อมหรือ[[ต้อกระจก]]
ลูทีนและซีอาแซนทินก็จะจับอิเล็กตรอนที่เป็น[[อนุมูลอิสระ]]ในกระบวนการรีดักชันทำให้ปลอดภัย