ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 78:
** ๓. ผู้แทนตำบลเป็นผู้เลือกตั้งสมาชิกในสภาผู้แทน ราษฎร
การเลือกตั้งสมาชิกในสมัยที่ ๓ จะมีกฎหมายบัญญัติภายหลังโดยจะดำเนินวิธีการที่ให้สมาชิกได้เลือกตั้งผู้แทนในสภาโดยตรง
 
* '''มาตรา ๑๓''' ผู้แทนประเภทที่ ๑ จะอยู่ในตำแหน่งได้คราวละ ๔ ปีนับแต่วันเข้ารับตำแหน่ง แต่เมื่อถึงสมัยที่ ๓ แล้ว แม้ผู้แทนในสมัยที่ ๒ จะได้อยู่ในตำแหน่งไม่ถึง ๔ ปีก็ดี ต้องออกจากตำแหน่งนับแต่วันที่ผู้แทนในสมัยที่ ๓ ได้เข้ารับตำแหน่ง
บรรทัด 98:
 
* '''มาตรา ๑๗''' การฟ้องร้องสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร เป็นคดีอาชญายังโรงศาลจะต้องได้รับอนุญาตจากสภาก่อน ศาลจึ่งจะรับฟ้องได้
 
 
'''''
เส้น 127 ⟶ 128:
 
 
=== หมวดที่ ๔ ===
 
'''คณะกรรมการราษฎร'''
ส่วนที่ ๑
 
อำนาจและหน้าที่
''ส่วนที่ อำนาจและหน้าที่''

* '''มาตรา ๒๘''' คณะกรรมการราษฎรมีอำนาจและหน้าที่ ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุที่ประสงค์ของสภา
* '''มาตรา ๒๙''' ถ้ามีการฉุกเฉินเกิดขึ้นซึ่งคณะกรรมการจะ เรียกประชุมสภาราษฎรให้ทันท่วงทีมิได้ และคณะกรรมการ ราษฎรเห็นสมควรจะต้องออกกฎหมาย เพื่อให้เหมาะแก่การ ฉุกเฉินนั้น ๆ ก็ทำได้ แต่จะต้องรีบนำกฎหมายนั้นขึ้นให้สภา รับรอง
* '''มาตรา ๓๐''' คณะกรรมการราษฎรมีอำนาจให้อภัยโทษ แต่ให้นำความขึ้นขอพระบรมราชานุญาตเสียก่อน
* '''มาตรา ๓๑''' ให้เสนาบดีกระทรวงต่าง ๆ เป็นผู้รับผิดชอบต่อคณะกรรมการราษฎรในกิจการทั้งปวง
 
สิ่งใดซึ่งเป็นการฝ่าฝืนต่อคำสั่งหรือระเบียบการของคณะ กรรมการราษฎร หรือกระทำไปโดยธรรมนูญไม่อนุญาตให้ทำ ได้ ให้ถือว่าการนั้นเป็นโมฆะ
 
 
'''''
''ส่วนที่ ๒ กรรมการราษฎรและเจ้าหน้าที่ประจำ''
 
* '''มาตรา ๓๒''' คณะกรรมการราษฎรประกอบด้วยประธานคณะกรรมการราษฎร ๑ นาย และกรรมการราษฎร ๑๔ นาย รวมเป็น ๑๕ นาย
 
* '''มาตรา ๓๓''' ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกในสภาผู้ ๑ ขึ้นเป็น ประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกใน สภาอีก ๑๔ นายเพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับ ความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ที่ได้รับเลือกนั้น ๆ เป็นกรรมการของสภา ในเมื่อสภาเห็นว่ากรรมการมิได้ดำเนิน กิจการตามรัฐประศาสโนบายของสภา สภามีอำนาจเชิญ กรรมการให้ออกจากหน้าที่ แล้วเลือกตั้งใหม่ตามที่กล่าวใน ตอนนั้น
 
* '''มาตรา ๓๔''' กรรมการคนใดมีเหตุอันกระทำให้กรรมการ คนนั้นขาดคุณสมบัติอันกำหนดไว้สำหรับผู้แทนในมาตรา ๑๑ ก็ตาม หรือตายก็ตาม ให้สภาเลือกกรรมการแทนสำหรับ ตำแหน่งนั้น ๆ
 
ในเมื่อสภาได้เลือกตั้งกรรมการแล้ว สภาชุดนั้นหมด กำหนดอายุตำแหน่งเมื่อใด ให้ถือว่ากรรมการชุดนั้นย่อม หมดกำหนดอายุตำแหน่งด้วย
 
* '''มาตรา ๓๕''' การตั้งการถอดตำแหน่งเสนาบดี ย่อมเป็น พระราชอำนาจของกษัตริย์ พระราชอำนาจจะทรงใช้แต่ โดยตามคำแนะนำของคณะกรรมการราษฎร
 
* '''มาตรา ๓๖''' การเจรจาการเมืองกับต่างประเทศเป็นหน้าที่ ของกรรมการผู้แทนราษฎร และกรรมการอาจตั้งผู้แทนเพื่อ การนี้ได้
 
การเจรจาได้ดำเนินไปประการใดให้กรรมการรายงานกราบ บังคมทูลกษัตริย์ทรงทราบ
 
การให้สัตยาบันสัญญาทางพระราชไมตรีเป็นพระราช อำนาจของกษัตริย์ แต่จะทรงใช้พระราชอำนาจนี้ตามคำ แนะนำของกรรมการราษฎร
 
* '''มาตรา ๓๗''' การประกาศสงครามเป็นพระราชอำนาจของ กษัตริย์ แต่จะทรงใช้พระราชอำนาจนี้ตามคำแนะนำของ กรรมการราษฎร
 
 
'''''
''ส่วนที่ ๓ ระเบียบการประชุม''
 
* '''มาตรา ๓๘''' ระเบียบการประชุมของคณะกรรมการ ราษฎรให้อนุโลมตามที่บัญญัติในหมวดที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
กรรมการราษฎรและเจ้าหน้าที่ประจำ
มาตรา ๓๒ คณะกรรมการราษฎรประกอบด้วยประธานคณะกรรมการราษฎร ๑ นาย และกรรมการราษฎร ๑๔ นาย รวมเป็น ๑๕ นาย
มาตรา ๓๓ ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกในสภาผู้ ๑ ขึ้นเป็น ประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกใน สภาอีก ๑๔ นายเพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับ ความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ที่ได้รับเลือกนั้น ๆ เป็นกรรมการของสภา ในเมื่อสภาเห็นว่ากรรมการมิได้ดำเนิน กิจการตามรัฐประศาสโนบายของสภา สภามีอำนาจเชิญ กรรมการให้ออกจากหน้าที่ แล้วเลือกตั้งใหม่ตามที่กล่าวใน ตอนนั้น
มาตรา ๓๔ กรรมการคนใดมีเหตุอันกระทำให้กรรมการ คนนั้นขาดคุณสมบัติอันกำหนดไว้สำหรับผู้แทนในมาตรา ๑๑ ก็ตาม หรือตายก็ตาม ให้สภาเลือกกรรมการแทนสำหรับ ตำแหน่งนั้น ๆ
ในเมื่อสภาได้เลือกตั้งกรรมการแล้ว สภาชุดนั้นหมด กำหนดอายุตำแหน่งเมื่อใด ให้ถือว่ากรรมการชุดนั้นย่อม หมดกำหนดอายุตำแหน่งด้วย
มาตรา ๓๕ การตั้งการถอดตำแหน่งเสนาบดี ย่อมเป็น พระราชอำนาจของกษัตริย์ พระราชอำนาจจะทรงใช้แต่ โดยตามคำแนะนำของคณะกรรมการราษฎร
มาตรา ๓๖ การเจรจาการเมืองกับต่างประเทศเป็นหน้าที่ ของกรรมการผู้แทนราษฎร และกรรมการอาจตั้งผู้แทนเพื่อ การนี้ได้
การเจรจาได้ดำเนินไปประการใดให้กรรมการรายงานกราบ บังคมทูลกษัตริย์ทรงทราบ
การให้สัตยาบันสัญญาทางพระราชไมตรีเป็นพระราช อำนาจของกษัตริย์ แต่จะทรงใช้พระราชอำนาจนี้ตามคำ แนะนำของกรรมการราษฎร
มาตรา ๓๗ การประกาศสงครามเป็นพระราชอำนาจของ กษัตริย์ แต่จะทรงใช้พระราชอำนาจนี้ตามคำแนะนำของ กรรมการราษฎร
 
=== หมวดที่ ๕ ===
 
'''ศาล'''
ส่วนที่ ๓
ระเบียบการประชุม
มาตรา ๓๘ ระเบียบการประชุมของคณะกรรมการ ราษฎรให้อนุโลมตามที่บัญญัติในหมวดที่ ๓
 
* '''มาตรา ๓๙''' การระงับข้อพิพาทให้เป็นไปตามกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในเวลานี้
 
ประกาศมา ประกาศมาณวันที่วันที่ ๒๗ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ และให้ใช้บังคับได้แต่บัดนี้เป็นต้นไป
หมวดที่ ๕
ศาล
มาตรา ๓๙ การระงับข้อพิพาทให้เป็นไปตามกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในเวลานี้
ประกาศมาณวันที่ ๒๗ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ และให้ใช้บังคับได้แต่บัดนี้เป็นต้นไป
 
(พระบรมนามาภิธัย) ประชาธิปก ป.ร.